Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Ads Service

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:312032
ทั่วไป:13627064
ทั้งหมด:13939096
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - การเดินรถสมัยสงครามมหาเอเซียบูรพา
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

การเดินรถสมัยสงครามมหาเอเซียบูรพา
Goto page Previous  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10  Next
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43921
Location: NECTEC

PostPosted: 03/01/2023 6:44 pm    Post subject: Reply with quote

ตอนนี้สถานี จันโดสวา กม. 347 + 188.89 ที่ตั้งตามชื่อวัด จันโดสวา ได้เปลี่ยนชื่อตามตำบลเป็น Thma Koul (លថ្មគោល)


Wisarut wrote:
จากกฤษฎีกาเวนคืนที่ตามทางรถไฟสายพระตะบอง พ.ศ. 2487 ทำให้ทราบถึงศูนย์กลางสถานีดังนี้ และ การเปลี่ยนแปลงชื่อสถานีด้วย เสียดายที่ท่านผู้ว่าแสง ค้นเอกสารนี้ไม่พบ ไม่งั้น ก็มันส์หละคราวนี้ Embarassed Laughing

สถานีอรัญประเทศ - กม. 254 + 500.00

สถานีเสรีเริงริทธิ์ - 261 + 360.50 (สถานีปอยเปตนั่นเอง)

สถานีไทยชนะ - กม. 276 + 100.00 (แต่ก่อนคือสถานีบ้านกูบนั้นเอง)

สถานีคลองลึก - กม. 288 + 500.00 (แต่ก่อนคือสถานีโอชลอนั่นเอง)

ที่หยุดเกียรติทหานไทย - กม. 295 + 000.00 สร้างขึ้นใหม่ (ที่หยุดรถสาลาสำโรงนั่นเอง)

ที่หยุดรถน้ำไส - กม. 300. + 960.00 (แต่ก่อนคือที่หยุดรถตึกธะลานั่นเอง)

สถานีสรีโสภน - กม. 308 + 180.00

สถานีมงคลบุรี - กม. 315 + 169.33 - จ่ายน้ำและฟืน

ที่หยุดรถปราสาทนาง - กม. 318 +262.22 (แต่ก่อนคือที่หยุดรถบัมทายเนียง นั่นเอง)

ที่หยุดรถไร่กล้วย - กม. 322 + 441.28(แต่ก่อนคือที่หยุดรถจังกาเจกนั้นเอง)

สถานีเขาน้อย - กม. 329 + 599.84 (แต่ก่อนคือ สถานีพนมโตยนั่นเอง)

ที่หยุดรถสำโรง - กม. 335 + 039.74 (แต่ก่อนคือที่หยุดรถโตลสำโรง นั้นเอง)

ที่หยุดรถสะเดา - กม. 339 + 335.00 (แต่ก่อนคือที่หยุดรถจรวยสะเดา นั่นเอง)

สถานีบันไดสวา กม. 347 + 188.89 (แต่ก่อนคือสถานีจันโดสวานั่นเอง)

สถานีคลองตะเคียน กม. 360 + 831.21 (แต่ก่อนคือสถานีโอตะเคีย นั่นเอง)

ที่หยุดรถทัพไทย กม. 365 + 959.08 (แต่ก่อนคือ ที่หยุดรถเซียมนั่นเอง)

สถานี พระตะบอง - กม. 372 + 309.73 - จ่ายน้ำและฟืน

ที่หยุดรถคลองตะพด - กม. 377 + 208.32 (แต่ก่อนคือ ที่หยุดรถโอตะบองนั้นเอง)

สถานีคลองสะเหลา - กม. 383 + 237.25 (แต่ก่อนคือสถานีโอเสลา นั้นเอง)

ที่หยุดรถรังเกสี กม. 389 + 126.35 (แต่ก่อนคือที่หยุดรถเรียงกะไซ นั่นเอง)

ที่หยุดรถมะม่วงงาม - กม. 393 + 426.09 (แต่ก่อนคือ ที่หยุดรถสวายเจก นั่นเอง)

สถานีเทพไทย - กม. 401 + 121.40 (แต่ก่อนคือ สถานีพนมเทพไทย นั่นเอง)

สถานีดอนคราม - กม. 408 + 717.07 (แต่ก่อนคือ สถานีกุ๊กทรม นั่นเอง)

สถานีรนนภากาส - กม. 422 + 254.71 - - จ่ายน้ำและฟืน (มุงฤๅษี - เมืองระสือ แต่ก่อนคือ สถานีอธึกเทวเดชนั่นเอง)

สถานีป่ามะม่วง - กม.430 + 604.88 (แต่ก่อนคือสถานีสถานีไปรสวาย นั่นเอง)

ที่หยุดรถกลัมพัก - กม. 436 + 244.49 (แต่ก่อนคือที่หยุดรถกุลมพลึก/กุลิมปลอก นั่นเอง - สำหรับผู้ที่ไม่อยากข้ามแม่น้ำสวายดอนแก้ว)

สถานีสวายโดนแก้ว - กม. 437 + 539 สถานีนี้ถือว่าเป็นของอินโดจีนฝรั่งเศส เหมือนกรณีปาดังเบซาร์ เพราะอยู่ฝั่งอิ้นโดจีน แต่ไทยให้เป็นสถานีร่วม
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43921
Location: NECTEC

PostPosted: 02/03/2023 6:42 pm    Post subject: Reply with quote

ไฟล์ภาพเลียนแบบเอกสารกฤตภาค (clipping) นำเสนอข่าวในอดีตหลังผ่านช่วงสงครามมาได้หนึ่งปีเศษ กับเหตุคดีลักทรัพย์ในเส้นทางรถไฟสายมรณะ ตัดจากหนังสือพิมพ์สยามนิกร ฉบับวันพุธที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489
https://www.facebook.com/groups/720177374708523/posts/5882373838488825/
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43921
Location: NECTEC

PostPosted: 31/08/2023 12:08 pm    Post subject: Reply with quote

Wisarut wrote:
Wisarut wrote:
หนองปลาดุก กม. 0 + 000 (64 + 046.55 กม.จากสถานีธนบุรี 80+096.55 กม.จากกรุงเทพ)
กงม้า (คอนม้า) กม. 2 + 000
บ้านโป่งใหม่ กม. 5 + 180
ลูกแก กม. 13 + 380
ท่าเรือน้อย กม. 25 + 890
ท่าม่วง กม. 36 + 900
เขาดิน กม. 43 + 154
กาญจนบุรี (ปากแพรก) กม. 50 + 320
สะพานท่ามะขามที่ กม. 56 + 255.1 ยาว 346.40 เมตร
เขาปูน กม. 57 + 545
วังลาน กม. 68 + 454
บ้านเก่า (บ้านเขา) กม. 87 + 904
ท่ากิเลน กม. 97 + 904
อ้ายหิต (อารูหิตา, ลุ่มสุ่ม) กม. 108 + 140
วังโพ กม. 114 + 040
วังใหญ่ กม. 124 + 850
ท่าเสา (น้ำตก) กม. 130 + 300
ท้องช้าง กม. 139 + 050
ถ้ำผี กม. 147 + 520 (สูงสุด)
หินตก กม. 155 + 030
กันนิ้ว กม. 161 + 400 (ช่องเขาขาด ช่องไฟนรก)
ไทรโยค กม. 167 + 660
กิ่งไทรโยค กม. 171 + 720
ริ่นถิ่น กม. 180 + 530
กุยแซง กม. 190 + 480
หินดาด กม. 197 + 750
ปรังกะสี กม. 208 + 110
ท่าขนุน (ทองผาภูมิ) กม. 218 + 150
น้ำโจนใหญ่ กม. 229 + 140
ท่ามะเยี่ยว (ท่ามะยอ) กม. 236 + 800
ตำรองผาโท้ กม. 244 + 190
เกริงไกร กม. 250 + 130
กองโกยท่า (แก่งคอยท่า) กม. 262 + 580
ทิมองท่า กม. 273 + 060
นิเก (สังขละบุรี) กม. 281 + 880
ซองกะเลีย กม. 294 + 020
สะพานข้ามแม่น้ำซองกะเลีย กม. 294 + 418 ยาว 90 เมตร
จันการายา กม. 303 + 630 (ด่านพระเจดีย์สามองค์ฝั่งพม่า)
อังกานัง กม. 310 + 630
เกียนโด กม. 319 + 880
สะพานไม้ข้ามแม่น้ำเมกาซา กม. 319 + 798 ยาว 56 เมตร (ลำน้ำแม่กษัตริย์)
สะพานไม้ข้ามแม่น้ำซามีที กม. 329 + 678 ยาว 75 เมตร
อาปาลอง กม. 332 + 090
สะพานข้ามแม่น้ำอาปาลอง กม. 333 + 258.20 เป็นสะพานคอนกรีตยาว 50 เมตร
อาปาไร กม. 337 + 250
เมซารี กม. 342 + 830
เมซารีบูน กม. 348 + 660
ลองชี กม. 353 + 770
ตังซึน กม. 357 + 600
ตังบายา กม. 361 + 900
อานากุย กม. 369 + 060
สะพานอานากุย กม. 369 + 839.5 ยาว 60 เมตร
เบกุตัง กม. 374 + 480
เรโบ กม. 384 + 590
กองโนกอย กม. 391 + 021
ราเบา กม. 396 + 300
เวกาเร กม. 406 + 390
ตังเบียวซายาใหม่ กม. 409 + 790
ตังเบียวซายา กม. 414 + 916


เล่าเรืองทางรถไฟสายมรณะที่นี่ครับ
https://www.facebook.com/SaraStoryHDz/posts/3700998203319135


ส่วนข้อมูลจาก ทางรถไฟสายไทย - พม่า ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา โดย วัลลี นวลหอมและ พชรพล แซ่อึ๊ง ที่อ้างอิงจาก การรถไฟแห่งประเทศไทยปี 2540 ได้ความดั่งนี้

หนองปลาดุก กม. 0 + 000 (64 + 196 กม.จากสถานีธนบุรี)
บ้านโป่งใหม่ กม. 5 + 180
ลูกแก กม. 13 + 380
ท่าเรือน้อย กม. 25 + 890
ท่าม่วง กม. 36 + 900
เขาดิน กม. 43 + 004
กาญจนบุรี (ปากแพรก) กม. 50 + 320
เขาปูน กม. 57 + 300
วังลาน กม. 68 + 590
ท่าโป่ง (วังเย็น) กม. 77 + 660
บ้านเก่า กม. 87 + 390
ท่ากิเลน กม. 97 + 890
อ้ายหิต (ลุ่มสุ่ม แต่ปี 2500) กม. 108 + 140
วังโพ กม. 114 + 040
วังใหญ่ กม. 124 + 850
ท่าเสา (น้ำตก) กม. 130 + 300
ท้องช้าง กม. 139 + 050
ถ้ำผี กม. 147 + 520 (สูงสุด)
หินตก กม. 155 + 030
หาดงิ้ว กม. 161 + 300 (ช่องเขาขาด ช่องไฟนรก)
ไทรโยค กม. 167 + 660
กิ่งไทรโยค กม. 171 + 720
ริ่นถิ่น กม. 180 + 530
กุยแหย่ กม. 190 + 480
หินดาด กม. 197 + 750
ปรังกะสี กม. 208 + 110
ท่าขนุน (ทองผาภูมิ) กม. 218 + 150
น้ำโจนใหญ่ กม. 229 + 140
ท่ามะยอ กม. 236 + 800
ทำรงผาโท้ กม. 244 + 190
เกริงไกร กม. 250 + 130
กุลีกอนต้า กม. 257 + 180
แก่งคอยท่า กม. 262 + 580
ทิมองต้า กม. 273 + 060
นิเก (สังขละบุรี) กม. 281 + 880
ซองกะเลีย กม. 294 + 020
จันการายา กม. 303 + 950 (ด่านพระเจดีย์สามองค์ฝั่งพม่า)
อังกาทน กม. 310 + 600
คอนโด กม. 319 + 900
อปาลอน กม. 332 + 100
อปาไร กม. 337 + 300
เมซาลี กม. 342 + 800
อาเท็ทเมซาลี กม. 348 + 700
ลนชี กม. 353 + 770
ทันซุน กม. 357 + 600
ทันบายา กม. 361 + 900
อนันกวิน กม. 366 + 100
เบกตอง กม. 374 + 500
เรทโปว กม. 384 + 600
ราเบา กม. 396 + 300
แวกะเร กม. 406 + 400
ทันบูซายัตใหม่ กม. 409 + 800
ทันบูซายัต กม. 414 + 900


ผลักดันสถานีวัดท่าขนุน หนึ่งในสถานีทางประวัติศาสตร์รถไฟสายมรณะ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้ง 2 เป็นแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน
https://www.facebook.com/watch?v=565049975687359
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 47112
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 02/09/2023 8:56 am    Post subject: Reply with quote

Wisarut wrote:
ผลักดันสถานีวัดท่าขนุน หนึ่งในสถานีทางประวัติศาสตร์รถไฟสายมรณะ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้ง 2 เป็นแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน
https://www.facebook.com/watch?v=565049975687359

ฟื้นรถไฟสายมรณะ "ท่าขนุน" จ.กาญจนบุรี
Thai PBS News
Sep 1, 2023


https://www.youtube.com/watch?v=EgiNJjNRyPQ
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43921
Location: NECTEC

PostPosted: 15/09/2023 10:43 am    Post subject: Reply with quote

ขอประชาสัมพันธ์ครับ เกี่ยวกับ #หนังสือเมืองราชบุรีกับระเบิดทั้ง7 ซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของจังหวัดราชบุรีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
โดยท่าน พลตรี ดร. สุชาต จัทนรวงศ์ เป็นค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และกำลังจะทำเป็นรูปเล่มออกมา
หนังสือจะแจกให้ฟรี กับสถานศึกษา ห้องสมุด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตอนนี้ยังขาดแคลนในเรื่องงบประมาณในการพิมพ์หนังสือเป็นรูปเล่ม จึงขอเชิญชวน เพื่อนๆครับ ถ้าท่านใดอยากสนับสนุนกิจกรรมดีๆ เพื่อสร้างคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติ และเยาวชนในอนาคต โดยการส่งเสริมการเรียนรู้ ก็สามารถช่วยบริจาคได้ตามกำลังของท่านครับ
ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าชมได้ตามที่ผมแปะไว้ให้ครับ
https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=6960829027273565&id=100000396115359&mibextid=Nif5oz
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43921
Location: NECTEC

PostPosted: 23/09/2023 7:14 pm    Post subject: Reply with quote

#SpiritAlongtheWay ชวนฟังเรื่องราวของกลุ่มคนที่มีชีวิตเหมือนตกนรกและตายทั้งเป็นของเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร และแรงงานของชาวเอเชียที่ถูกทหารญี่ปุ่นเกณฑ์มาเป็นแรงงานสร้างทางรถไฟในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง จากชุมทางหนองปลาดุก ในประเทศไทย ถึงทันบูซายัด เมืองท่าที่อยู่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ประเทศเมียนมา ระยะทาง 415 กิโลเมตร
.
การสร้างทางรถไฟเริ่มต้นขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2485 มีทหารญี่ปุ่นมาคุมงานมากถึง 12,000 นาย ไม่เพียงแต่เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรจากประเทศออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และดัตช์ ที่ต้องมาใช้แรงงาน ยังรวมถึงการจ้างงานแรงงานชาวเอเชียซึ่งเป็นชาวมาเลย์เชื้อสายทมิฬจากประเทศอินเดียในช่วงยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ รวมถึงคนจีนที่อยู่ในสิงคโปร์, มาเลเซีย, ชาวเมียนมา และชาวไทย โดยคนกลุ่มรับจ้างเหล่านี้ทหารญี่ปุ่นเรียกว่า โรมูฉะ (Romusha) แม้จะไม่ใช่เชลยศึกแต่ชะตากรรมของโรมูฉะกลับถูกให้ทำงานหนักเยี่ยงทาส โดยกะหนึ่งทำงานมากกว่า 18 ชั่วโมง ยิ่งตอนช่วงที่ญี่ปุ่นเร่งให้เส้นทางนี้เสร็จตามกำหนดเวลาภายใน 1 ปีหรือเร็วกว่านั้น อาจต้องทำงานติดต่อกันนานถึง 33 ชั่วโมงโดยไม่มีพัก แลกกับแค่แรงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
https://www.facebook.com/watch/?v=141762498828356
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 47112
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 23/09/2023 7:21 pm    Post subject: Reply with quote

Wisarut wrote:
#SpiritAlongtheWay ชวนฟังเรื่องราวของกลุ่มคนที่มีชีวิตเหมือนตกนรกและตายทั้งเป็นของเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร และแรงงานของชาวเอเชียที่ถูกทหารญี่ปุ่นเกณฑ์มาเป็นแรงงานสร้างทางรถไฟในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง จากชุมทางหนองปลาดุก ในประเทศไทย ถึงทันบูซายัด เมืองท่าที่อยู่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ประเทศเมียนมา ระยะทาง 415 กิโลเมตร
.
https://www.facebook.com/watch/?v=141762498828356

เส้นทางรถไฟสายมรณะที่สาบสูญ จากไทยสู่เมียนมา | Spirit Along the Way
Thai PBS Podcast
Mar 28, 2023


https://www.youtube.com/watch?v=ETi_J2lfYRQ
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 47112
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 23/09/2023 8:19 pm    Post subject: Reply with quote

ตามรอยเส้นทางรถไฟสายมรณะ ตอนที่ 1 I 25 ต.ค. 63
LINEกนก
Oct 30, 2020

ตอนที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์และให้แง่คิดอุทาหรณ์

- ทำไมเส้นทางรถไฟสายนี้ถึงถูกขนานนามว่า " เส้นทางรถไฟสายมรณะ " ?
- เพราะเหตุใด ญี่ปุ่นถึงต้องบุกประเทศไทย ?
- สถานีแรกและสถานีสุดท้ายของเส้นทางรถไฟสายนี้อยู๋ตรงไหน
- จุดจบของเส้นทางสายนี้เป็นอย่างไร ?
- ทุกวันนี้ สามารถเที่ยวตามรอยเส้นทางรถไฟสายนี้ได้หรือไม่ ?

ตอนที่ 1 Arrow https://www.youtube.com/watch?v=ztClOwFovI4


https://www.youtube.com/watch?v=CNIGx7ipcEE
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 47112
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 26/10/2023 4:09 pm    Post subject: Reply with quote

“ทางรถไฟสายมรณะ” จากบาดแผลสงคราม สู่ “ทางรถไฟแห่งความหรรษา” เส้นทางท่องเที่ยวสุดปังแห่งเมืองกาญจน์
เผยแพร่: 26 ต.ค. 2566 13:37
ปรับปรุง: 26 ต.ค. 2566 13:37 โดย: ปิ่น บุตรี

Click on the image for full size

https://mgronline.com/travel/detail/9660000094011
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43921
Location: NECTEC

PostPosted: 02/02/2024 10:59 am    Post subject: Reply with quote

Wisarut wrote:
27 กรกฎาคม 2486 มีพระราชกฤษฎีกา เปลี่ยนชื่ออำเภออธึกเทวเดช เป็นอำเภอรนนภากาศ หลังจากที่พลอากาศตรี เจียม อธึกเทวเดช โกมลมิส ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรนี เมื่อ 14 เมษายน 2486 เพราะต้องคดีค้าตลาดมืด


สถานีอธึกเทวเดช เปลี่ยนชื่อเป็น "รนนภากาส" ในทางสายตะวันออก(ปัจจุบันอยู่ในเขตกัมพูชา)
ยุบสถานีหลักหก ในทางสายเหนือ เป็น ที่หยุดรถ
7 เมสายน 2487
https://www.facebook.com/pichet.chamneam/posts/25251441541109906
Back to top
View user's profile Send private message
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10  Next
Page 9 of 10

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©