Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai Gallery in Facebook

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311232
ทั่วไป:13179947
ทั้งหมด:13491179
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - ขุดมั่งน้า ก็มาว่าเรื่องของเครื่องยนต์ดีเซลบ้าง
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

ขุดมั่งน้า ก็มาว่าเรื่องของเครื่องยนต์ดีเซลบ้าง
Goto page Previous  1, 2, 3, 4, 5, 6  Next
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
Cummins
2nd Class Pass
2nd Class Pass


Joined: 28/03/2006
Posts: 719
Location: มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา

PostPosted: 05/02/2012 3:44 pm    Post subject: ช่วยที Reply with quote

นี่ด้วย รบกวนปักหมุดให้หน่อยนะคร้าบบบ
_________________
อดีตโชเฟอร์ล้อเหล็ก
Back to top
View user's profile Send private message
Cummins
2nd Class Pass
2nd Class Pass


Joined: 28/03/2006
Posts: 719
Location: มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา

PostPosted: 05/02/2012 7:56 pm    Post subject: Individual Pump Reply with quote

และตอนนี้เราก็จะมาดูกันล่ะครับว่าปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบต่าง ๆ มีโครงสร้าง และหลักการทำงานอย่างไรกันบ้างเริ่มจาก
1. ปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบ (Individual pump)
ชื่อก็บอกตรง ๆ อยู่แล้วครับว่าปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบนั่นก็หมายความว่าในแต่สูบจะต้องมีปั๊มฉีดเชื้อเพลิงประจำสูบ 1 ตัว ดังนั้นไม่ว่าเครื่องยนต์จะมีกี่สูบก็ช่างก็จะต้องมีปั๊มฉีดเชื้อเพลิงเท่า ๆ กับจำนวนสูบของเครื่องยนต์ครับ ส่วนปั๊มนั้นโดยทั่ว ๆ ไปก็จะเป็นปั๊มแบบแจ็คปั๊มทั่ว ๆ โดยจะมีโครงสร้างดังที่ได้กล่าวมาแล้วก็คือจะมีชุดลูกปั๊ม 1 ชุดเพื่อใช้สูบส่งน้ำมันไปยังหัวฉีดโดยทั่ว ๆ ไปแล้วก็จะเคลื่อนที่ขึ้นด้วยการเตะของลูกเบี้ยว และเคลื่อนที่กลับด้วยแรงดันของสปริงส่วนระบบการปรับแต่งปริมาณน้ำมันนั้นจะเป็นแบบใดก็ได้ใน 5 แบบที่กล่าวมาแล้วในตอนต้นครับ แต่วิธีการควบคุมปริมาณน้ำมันที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือแบบสุดท้ายครับคือแบบช่องประจุ (Port) และร่องเฉียง (Helix) ครับด้วยคุณลักษณะเฉพาะตัวที่เหนือกว่าคือมีความเที่ยงตรงแม่นยำกว่า และง่ายต่อการควบคุม และก็เริ่มใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลในยุคแรก ๆ เป็นต้นมา ซึ่งในระยะแรกนั้นเครื่องยนต์ดีเซลมีขนาดค่อนข้างใหญ่ และมีรอบหมุนไม่สูงนักหลังจากที่พัฒนาระบบการฉีดเชื้อเพลิงด้วยลมอัดมาเป็นการฉีดด้วยแรงดันน้ำมัน มาเป็นระบบปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบเพราะมีข้อดีอยู่ตรงที่ว่าไม่ต้องใช้ท่อแรงดันสูงจากปั๊มไปถึงหัวฉีดยาวนัก และสามารถติดตั้งปั๊มใกล้ ๆ กับหัวฉีดได้

Click on the image for full size

Uploaded with ImageShack.us

ดังรูปที่แสดงให้ดูครับเป็นปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบที่ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กที่ผ่าให้เห็นส่วนประกอบภายใน

Click on the image for full size

Uploaded with ImageShack.us

ส่วนรูปข้างบนนี้เป็นปั๊มสำหรับเครื่องยนต์ดีเซลขนาดใหญ่ครับ
และลักษณะการติดตั้งปั๊มเข้ากับเครื่องยนต์

Click on the image for full size

Uploaded with ImageShack.us
_________________
อดีตโชเฟอร์ล้อเหล็ก
Back to top
View user's profile Send private message
pak_nampho
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 25/06/2007
Posts: 2371
Location: คนสี่แควพลัดถิ่น ทำมาหากิน ที่เกาะภูเก็ต

PostPosted: 06/02/2012 8:34 am    Post subject: Reply with quote

^
ความรู้และการเปลี่ยนแปลงด้านโลจิสต์ติก ป๋าณัฐ...จะตามมาไหมครับ..... Razz
_________________
+++++++++++++++++ ๑๑๖ ปี รถไฟไทยก้าวไกล....จากรถจักรไอน้ำ +++++++++++++++++
Click on the image for full size
....................บุตร ครฟ. พขร.ตรี แขวงรถพ่วงปากน้ำโพ ...................
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
nathapong
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/03/2006
Posts: 3515
Location: Ayuthaya - Lamlukka - Navanakhon - Silom

PostPosted: 06/02/2012 10:41 am    Post subject: Reply with quote

^ แหะ ๆ พี่นพ ขอทำงานให้ท่านอาจารย์นครก่อน อะพี่ งานใหม่มาแล้วว Embarassed
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
ter123
3rd Class Pass (Air)
3rd Class Pass (Air)


Joined: 06/12/2007
Posts: 333
Location: เชียงราก-บางมูลนาก-หอไกร

PostPosted: 06/02/2012 9:48 pm    Post subject: Reply with quote

เพิ่งจะรู้นะครับว่า ปั๊มเดี่ยวประจำสูบมีใช้ในเครื่องยนต์ดีเซลขนาดใหญ่ด้วย Shocked เคยเห็นอยู่ในเครื่องยนต์เล็กการเกษตรอย่างเดียวครับ Embarassed
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
Cummins
2nd Class Pass
2nd Class Pass


Joined: 28/03/2006
Posts: 719
Location: มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา

PostPosted: 08/02/2012 9:43 am    Post subject: Reply with quote

เตอร์ปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลหมุนช้าขนาดใหญ่มาก่อนครับก่อนที่จะพัฒนาขึ้นมาเป็นปั๊มหลาย ๆ แบบอย่างทุกวันนี้เพราะตอนนั้นเครื่องดีเซลมีขนาดใหญ่มากสร้างขึ้นมาเพื่อแข่งกับเครื่องจักรไอน้ำไม่สามารถใช้ปั๊มเล็กได้เดี๋ยวจะว่าต่อครับ
_________________
อดีตโชเฟอร์ล้อเหล็ก
Back to top
View user's profile Send private message
Cummins
2nd Class Pass
2nd Class Pass


Joined: 28/03/2006
Posts: 719
Location: มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา

PostPosted: 09/02/2012 3:54 pm    Post subject: Reply with quote

ที่เป็นเช่นนี้เพราะเครื่องยนต์ดีเซลในยุคแรกนั้นมีขนาดใหญ่ มีพื้นที่ติดตั้งมาก การติดตั้งปั๊มสูบใครสูบมันนั้นช่วยลดปัญหาการเดินท่อน้ำมันแรงดันสูงได้ แต่ข้อด้อยของการใช้ปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบแบบตัวใครตัวมัน สำหรับเครื่องยนต์หลายสูบก็คือการบังคับควบคุมปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งจะต้องเพิ่มและลดปริมาณน้ำมันพร้อม ๆ กัน และเท่า ๆ กันทุกตัว จึงจำเป็นต้องพ่วงก้านบังคับน้ำมันเข้ากับเครื่องควบคุมความเร็ว ดังนั้นพอเครื่องยนต์มีขนาดเล็กลงปัญหานี้จึงเกิดขึ้นเพราะพื้นที่เริ่มมีจำกัด ปั๊มแบบนี้ต้องอาศัยกำลังขับเคลื่อนจากเพลาลูกเบี้ยวของเครื่องยนต์ พอเครื่องยนต์มีขนาดเล็กลงทำให้การบังคับควบคุมทำได้ยากขึ้น ปั๊มแบบนี้มีอยู่สองแบบใหญ่ ๆ คือ แบบแรกเป็นแบบที่ลูกกระทุ้งไม่มีลูกกลิ้ง ก็อย่างที่แสดงให้ดูในภาพครับลูกกกระทุ้งที่อยู่ในเสื้อปั๊มนั้นเป็นเพียงตัวนำลูกปั๊มเฉย ๆ ส่วนลูกกระทุ้งจริงจะอยู่ในเสื้อสูบมีลูกกลิ้งเพื่อลดแรงเสียดทานเวลาทำงาน ปั๊มแบบนี้บริษัท บอสช์ที่เป็นเจ้าของสิทธิบัตรจะเรียกว่าแบบ PF ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าเป็นปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบชนิดที่ไม่มีลูกกลิ้งที่ลูกกระทุ้งลูกปั๊ม ส่วนอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่ลูกกระทุ้งลูกปั๊มจะมีลูกกลิ้งด้วยส่วนใหญ่จะเป็นปั๊มขนาดเล็กที่ใช้กับเครื่องยนต์เอนกประสงค์แบบนี้บอสช์จะให้รหัสว่า PFR ครั[
คลิปการทำงานของปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบครับส่องจากทางด้านลูกกระทุ้งกับลูกเบี้ยวขึ้นไปเป็นเครื่องสองจังหวะหมุนช้าขนาดประมาณ 80000 แรงม้าครับ

และคลิปข้างล่างเป็นการแสดงให้เห็นถึงการควบคุมปั๊มเดี่ยวเฉพาะสูบแบบตัวใครตัวมันครับจะเห็นว่าจะต้องทำงานพร้อม ๆ กันและจะต้องชักก้านบังคับน้ำมันเท่า ๆ กัน

_________________
อดีตโชเฟอร์ล้อเหล็ก
Back to top
View user's profile Send private message
Cummins
2nd Class Pass
2nd Class Pass


Joined: 28/03/2006
Posts: 719
Location: มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา

PostPosted: 11/02/2012 4:30 pm    Post subject: การทำงานของเครื่องดีเซลสองจังหวะ Reply with quote

อันนี้แถมครับ เพิ่งหาเจอเป็นคลิปแสดงการทำงานของเครื่องสองจังหวะหมุนช้าขนาดใหญ่ที่ความเร็วเดินเบา 22 รอบ/นาทีครับ

_________________
อดีตโชเฟอร์ล้อเหล็ก
Back to top
View user's profile Send private message
rimura
2nd Class Pass (Air)
2nd Class Pass (Air)


Joined: 16/08/2006
Posts: 778
Location: Suan luang Rama IX, Pravet, Bangkok

PostPosted: 12/02/2012 12:12 am    Post subject: Reply with quote

Quote:
รถยนต์เดี๋ยวนี้ใช้ระบบรางร่วม(common rail)กันหมด ทำอะไรกับเครื่องมิค่อยจะได้ สู้ระบบเก่าๆ พวกปั๊มแบบ inline หรือไม่ก็ปั๊มไฟฟ้า ไม่ได้ พวกนี้ถึงไหนถึงกันไม่ค่อยกลัวน้ำด้วยยิ่งเป็นปั๊ม inline ยิ่งไม่กลัวเลย แต่commom rail ได้เปรียบตรงที่มันประหยัดแล้วก็เรื่องมลพิษ แต่ยังไงผมก็ชอบแบบโบราณอยู่



ระบบคอมมอนเรลในรถยนต์นั่ง รถกระบะ รถอเนกประสงค์ ไปจนถึงรถใหญ่ที่วิ่งกันอยู่ดาษดื่น มักโมดิฟายยากเนื่องจากมีพวกระบบอิเล็คทรอนิกส์เข้ามาควบคุม แต่ถ้าเข้าใจการทำงานของมันและมีความรู้ทั้งด้านกลไกและอิเล็คทรอนิกส์ เราสามารถโมดิฟายมันได้ และ "ทำขึ้น" ได้เหมือนกันครับ ถ้าใครที่ติดตามพวกหนังสือ เวปไซต์เกี่ยวกับพวกรถคอมมอนเรลแต่ง หรือเล่นกับพวกนี้อยู่เป็นงานอดิเรก ก็ไม่ใช่งานยากครับ ผมเองก็เล่นกับพวกนี้อยู่ โดยทำเป็นงานเสริม.... ถ้าสนใจเรื่องพวกนี้จริงๆก็ยินดีคุยกันนอกรอบได้ครับผม

รอติดตาม อ.กิตติ ต่อไปครับ.... รอชมจนถึงตอนที่เป็นเทคโนโลยีล่าสุดของดีเซลกันเลย

Very Happy Embarassed
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail MSN Messenger
ter123
3rd Class Pass (Air)
3rd Class Pass (Air)


Joined: 06/12/2007
Posts: 333
Location: เชียงราก-บางมูลนาก-หอไกร

PostPosted: 12/02/2012 11:46 am    Post subject: Reply with quote

^
^

คงหมายถึงพ่วงกล่อง ดันราง ยกหัวฉีด ปลดคันเร่ง หรือเปล่าครับ
จะว่าไประบบคอมมอนเรลก็มีมานานมากแล้วตั้งแต่สมัยสงครามโลกแล้วก็เลิกใช้ไประยะหนึ่งแล้วนำกลับมาปรับปรุงใหม่อีกครั้งในยุคนี้ สำหรับส่วนตัวผมคิดว่าระบบนี้มันมีทั้งข้อดีและข้อเสียเมื่อชั่งน้ำหนักกันแล้วผมขอกลับไปใช้ระบบเดิมๆระบบปั๊มแถวเรียงและจานจ่ายดีกว่าครับ Wink
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3, 4, 5, 6  Next
Page 5 of 6

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©