Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai Gallery in Facebook

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311281
ทั่วไป:13263059
ทั้งหมด:13574340
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - รวมข่าวรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในอนาคตตามนโยบายรัฐบาล
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

รวมข่าวรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในอนาคตตามนโยบายรัฐบาล
Goto page Previous  1, 2, 3 ... 264, 265, 266 ... 278, 279, 280  Next
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> โครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในอนาคต
View previous topic :: View next topic  
Author Message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42708
Location: NECTEC

PostPosted: 20/06/2023 2:39 am    Post subject: Reply with quote

รฟม.ชง ครม.เคาะค่าตั๋ว "สายสีเหลือง" คาดเริ่มเก็บ 3 ก.ค.นี้ “คีรี” ตั้งเป้าผู้โดยสารเกือบ 2 แสนคน/วัน-พร้อมลงทุนขยาย เชื่อมสีเขียว
โดย: ผู้จัดการออนไลน์
เผยแพร่: 19 มิถุนายน 2566 เวลา 16:53 น.
ปรับปรุง: 19 มิถุนายน 2566 เวลา 16:53 น.

รฟม.ชงคมนาคมและ ครม.เตรียมประกาศอัตราค่าโดยสาร "สายสีเหลือง" 15-45 บาท พร้อมเร่ง ICE รับรองความปลอดภัยระบบก่อนเปิดเชิงพาณิชย์ “คีรี” ตั้งเป้า 3 ก.ค.เก็บค่าโดยสาร คาดมีผู้โดยสารเกือบ 2 แสนคน/วัน จี้ รฟม.ตัดสินใจต่อขยายไปรัชโยธิน

วันที่ 19 มิ.ย. 2566 ที่สถานีลาดพร้าว โครงการรถไฟฟ้ามหานครสายสีเหลือง พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานพิธีทดสอบเดินรถเสมือนจริง (Trial Run) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ตลอดสายอย่างเป็นทางการ โดยพลเอก ประยุทธ์ พร้อมคณะ ได้รับฟังบรรยายสรุปโครงการฯที่ศูนย์ซ่อมบำรุง รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ที่ถนนศรีนครินทร์ และชมนิทรรศการโครงการฯ จากนั้นได้ทดลองใช้บริการไปยังสถานีลาดพร้าว



พลเอก ประยุทธ์กล่าวว่า รถไฟฟ้าสายสีเหลืองสามารถก่อสร้างและเปิดเดินรถได้ครบทุกสถานี และจะเป็นทางเลือกในการเดินทางให้ประชาชน ซึ่งต้องขอขอบคุณทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงคมนาคม การรถไฟขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกระทรวงมหาดไทย เพราะในการก่อสร้างต้องมีการรื้อย้ายระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา ด้านล่าง และประชาชน ที่ให้เวนคืนที่ดินบางส่วนมาดำเนินการก่อสร้าง โดยระบบรถไฟฟ้ามีความสะดวก สบาย มีโครงข่ายเป็นใยแมงมุม ซึ่งจะมีการพิจารณาในเรื่องตั๋วร่วม และอัตราค่าแรกเข้า เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางของประชาชนด้วย

ผู้สื่อข่าวถามว่า จะมีการจัดเก็บอัตราค่าโดยสารในวันที่ 3 ก.ค. 2566 ตามที่เอกชนผู้รับสัมปทานเดินรถสายเหลืองหรือไม่ พลเอก ประยุทธ์กล่าวว่า เรื่องนี้จะต้องนำเข้าในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบก่อน โดยอัตราค่าโดยสารสายสีเหลืองเริ่มต้นที่ 15 บาท สูงสุด 45 บาท นอกจากนี้รถไฟฟ้ายังมีอาคารจอดรถ (จอดแล้วจร) ไว้บริการ ระบบรถไฟฟ้ามีโครงข่ายและมีหลายเรื่องต้องดำเนินการ ซึ่งขอให้รัฐบาลเข้าทำต่อ



นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กล่าวว่า ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในสัญญาสัมปทาน อัตราค่าโดยสารจะคำนวณอัตราตามดัชนีผู้บริโภค (CPI) ก่อนเปิดเดินรถ 90 วัน ซึ่งขณะนี้ รฟม.ได้ส่งเรื่องการจัดเก็บอัตราค่าโดยสารรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ไปยังกระทรวงคมนาคมแล้ว เพื่อเสนอที่ประชุม ครม.เห็นชอบตามขั้นตอน

โดยจะมีการประกาศตามข้อบังคับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยว่าด้วยการกำหนดอัตราค่าโดยสารรถไฟฟ้าและวิธีจัดเก็บฯ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าก่อนวันมีผลบังคับใช้ โดยจะมีการประกาศอัตราค่าจอดรถของอาคารจอดแล้วจรโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองที่ตั้งอยู่ติดกับสถานีศรีเอี่ยมด้วย โดยผู้ใช้บริการรถไฟฟ้ากำหนดที่อัตรา 2 ชั่วโมง 15 บาท ซึ่งเป็นอัตราเดียวกับอาคารจอดรถ MRT

สำหรับการตรวจรับรองมาตรฐานความปลอดภัยโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองนั้น ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบของวิศวกรที่ปรึกษาอิสระ (ICE) ซึ่งจะสรุปรายงานผลในวันที่ 23 มิ.ย. 2566 และนำเสนอ รฟม.เพื่อร่วมพิจารณาผล คาดว่าจะไม่มีปัญหาใดๆ จากการทดสอบระบบการเดินรถเสมือนจริงราบรื่นดี ดังนั้น หาก ICE รับรองระบบความปลอดภัย และ ครม.เห็นชอบอัตราค่าโดยสาร และประกาศในราชกิจจาฯ ได้ตามกรอบเวลา ผู้รับสัมปทานโครงการสายสีเหลืองจะสามารถเปิดเดินรถเชิงพาณิชย์ และจัดเก็บค่าโดยสารตั้งแต่วันที่ 3 ก.ค. 2566 เป็นต้นไป



@ “คีรี” ประกาศเริ่มเก็บค่าโดยสารตั้งแต่ 3 ก.ค. 2566

ด้านนายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการ บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด (EBM) ผู้รับสัมปทาน โครงการรถไฟฟ้ามหานครสายสีเหลือง เปิดเผยว่า บริษัทมีความพร้อมในการเปิดบริการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองเต็มรูปแบบครบทั้ง 23 สถานี โดยจะเปิดให้ประชาชนใช้บริการฟรีไปจนถึงวันที่ 2 ก.ค. 2566 และตั้งเป้าเริ่มจัดเก็บค่าโดยสารตั้งแต่วันที่ 3 ก.ค.เป็นต้นไป โดยคาดการณ์จะมีผู้โดยสารประมาณ 100,000-200,000 เที่ยว-คน/วัน



รถไฟฟ้าสายสีเหลืองล่าช้ามากว่า 2 ปี ไม่อยากโทษใคร ซึ่งมีปัญหาหลายอย่างมีการแก้ไข จนวันนี้สามารถเปิดบริการได้ ซึ่งเส้นทางสายสีเหลืองจะช่วยให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการเดินทาง

นายคีรีย้ำว่าบริษัทฯ มีความพร้อมที่จะหารือร่วมกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ในการต่อขยายเส้นทางสายสีเหลือง จากสถานีแยกรัชดา-ลาดพร้าว ถึงแยกรัชโยธิน เชื่อมกับรถไฟฟ้าสายสีเขียวที่สถานีรัชโยธิน โดยบริษัทฯ ยืนยันจะลงทุนเองทั้งหมด และเป็นเส้นทางที่สมควรทำอย่างยิ่ง แต่ขึ้นอยู่กับ รฟม.ว่าจะคิดอย่างไร ถ้าเพื่อประโยชน์ต่อประชาชน ที่จะได้รับความสะดวกในการเดินทางมากขึ้นก็ควรทำเชื่อมต่อ วันนี้เปิดสายสีเหลืองแล้วจะเห็นว่ามีผู้โดยสารใช้บริการเท่าไร

“จะเหมือนรถไฟฟ้ามหานครสาย สีชมพู แคราย-มีนบุรี ที่บริษัทลงทุนขยายต่อไปถึงเมืองทองธานี ซึ่งอำนวยความสะดวกประชาชน ที่เมืองทองฯ แต่ละปีมีถึง 20 ล้านคน การเชื่อมโครงข่ายเพื่อจูงใจให้ประชาชนหันมาใช้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น ซึ่งสายสีชมพู แคราย-มีนบุรี กำลังเร่งก่อสร้าง คาดว่าจะเริ่มเปิดเดินรถได้ปลายปีนี้ และในช่วงเดือน ส.ค.นี้นายกฯ อาจจะเดินทางมาดูความคืบหน้าของสายสีชมพูอีกด้วย” นายคีรีกล่าว

นายคีรีกล่าวถึงโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มว่า เรื่องที่ตนต่อสู้เพราะไม่ได้รับความเป็นธรรม และเปิดเผยตัวเลขออกมาให้เห็นว่าประเทศชาติเสียหายอย่างไร และหากต่อสู้แล้วชนะไม่ได้หมายความว่าตนจะได้รับสัมปทาน โปรดกรุณาเข้าใจด้วย ซึ่งในการประชุม ครม.นัดสุดท้ายก่อนเป็น ครม.รักษาการ ได้ถอนเรื่องออก และมีการอภิปรายใน ครม.เข้าใจมากขึ้น วันนี้สายสีส้ม ส่วนตะวันออก ก่อสร้างแล้ว หากเสร็จก็จะทิ้งไว้ไม่ได้ประโยชน์และเสียโอกาส อยากให้มีรัฐบาลใหม่ ไม่ว่าจะเป็นใครก็อยากให้รีบดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประเทศ และประชาชน


X


@ 26 มิ.ย.ปรับเวลา ความถี่ เดินรถเหมือนจริง เริ่มบริการ 06.00-24.00 น.

ด้านนายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี กล่าวว่า ตั้งแต่วันที่ 26 มิ.ย. 2566 ทาง EBM จะมีการเดินรถไฟฟ้าสายสีเหลือง เหมือนกับการให้บริการจริงทุกประการ โดย เริ่มวิ่งให้บริการเวลา 06.00-24.00 น. และปรับความถี่ช่วงเวลาเร่งด่วนเป็น 5 นาทีต่อขบวน และช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 10 นาทีต่อขบวน บริษัทมีความพร้อมที่จะเริ่มเก็บค่าโดยสารเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ในวันที่ 3 ก.ค. 2566 เป็นต้นไป โดยได้จัดทำอัตราค่าโดยสารคำนวณตามดัชนีผู้บริโภคตามสัญญาสัมปทานล่วงหน้า 90 วันเสนอไปที่ รฟม.เรียบร้อยแล้ว และจะมีการปรับอัตราค่าโดยสารทุกๆ 2 ปี ตามดัชนีผู้บริโภค



คาดว่าหลังจากเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์สักระยะหนึ่งจำนวนผู้โดยสารน่าจะแตะระดับ 100,000 เที่ยว-คน/วัน และปลายปี 2566 จะไปอยู่ที่ระดับเกือบ 200,000 เที่ยว-คน/วัน ทั้งนี้ ในส่วนของตั๋วร่วม สำหรับผู้โดยสารใช้บัตร EMV Contactless ชำระค่าโดยสาร และใช้บริการต่อเชื่อมสายสีเหลืองกับสายสีน้ำเงิน ที่ สถานีลาดพร้าวนั้นจะยกเว้นค่าแรกเข้า ซึ่งคาดว่าจะมีผู้ใช้บริการพอสมควร แต่ทั้งนี้ต้องประเมินอีกครั้ง

โดยสายสีเหลืองมีรถจำนวน 30 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ (120 ตู้) ซึ่งมีขีดความสามารถรองรับผู้โดยสารได้เกือบ 3 หมื่นคน/ชม./ทิศทาง และเมื่อจำนวนผู้โดยสารหนาแน่นเต็มความจุ จะมีการเพิ่มรถจาก 4 ตู้/ขบวนในปัจจุบันเป็น 7 ตู้/ขบวน


เคาะเก็บค่าโดยสาร 'สายสีเหลือง' 3 ก.ค.นี้
20 มิถุนายน 2566 เวลา 7:54 น.

“รถไฟฟ้าสายสีเหลือง” ให้บริการครบ 23 สถานี ช่วงลาดพร้าว – สำโรง “บีทีเอส” จ่อเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ เริ่มจัดเก็บค่าโดยสาร 3 ก.ค.นี้ คาดผู้โดยสารใช้บริการวันละ 2 แสนคน ลุ้นสายสีชมพูเปิดให้บริการบางส่วน พ.ย.นี้

20 มิ.ย.2566 – นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอส เปิดเผย ว่าวันที่19 มิ.ย.นี้ เป็นวันแรกที่รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว – สำโรง เปิดให้บริการครบ 23 สถานี บริษัทฯ ประเมินว่าจะเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองในรูปแบบเชิงพาณิชย์ (เก็บค่าโดยสาร)ในอัตรา15-45 บาทในวันที่ 3 ก.ค.นี้ โดยปัจจุบันบริษัทฯ ได้ดำเนินการยื่นขออนุมัติอัตราราคาค่าโดยสารตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในสัญญาแล้ว โดยประเมินว่าหากเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ จะมีผู้โดยสารใช้บริการสูงสุดเฉลี่ย 2 แสนคนต่อวัน

สำหรับส่วนต่อขยายนั้นขึ้นอยู่กับว่า การรถไฟขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.)จะพิจารณา​อย่างไร หากมองว่าทำเพื่อความสะดวกของประชาชนก็ควรทำ เพราะตอนนี้รถไฟฟ้าทุกสายพยายามเชื่อมต่อกัน ให้เป็นโครงข่ายสมบูรณ์​ที่สุด เช่นเดียวกับ ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีชมพูที่เข้าเมืองทองธานี ที่ทำเพื่อ อำนวยความสะดวกของผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางเข้าเมืองทองธานีในช่วงที่มีงานปีละกว่า 20 ล้านคน

นายคีรี กล่าวต่อว่าส่วนความคืบหน้ารถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย – มีนบุรี ขณะนี้อยู่ระหว่างเร่งรัดงานก่อสร้าง ยอมรับว่าโครงการล่าช้าออกไปจากปัญหาผลกระทบโควิด-19 และการส่งมอบพื้นที่ แต่ขณะนี้ประเมินว่าจะสามารถก่อสร้างแล้วเสร็จ พร้อมทยอยเปิดให้ประชาชนใช้บริการได้ในช่วงเดือน พ.ย.นี้ โดยความล่าช้าที่เกิดขึ้นจากผลกระทบต่างๆ รวม 2 โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง และสายสีชมพู ในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ทำให้เกิดความเสียหายรวม 7 พันล้านบาท ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายจากต้นทุนแรงงาน และดอกเบี้ย

ด้านนายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการ บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด (EBM) กล่าวว่า หากเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองในปีแรกนี้ คาดว่าจะมีผู้โดยสารสูงสุด 2 แสนคนต่อวันในช่วงประมาณปลายปี ซึ่งค่าโดยสารเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ 30 บาทต่อคน ดังนั้นบริษัทฯ จึงประเมินรายได้จากรถไฟฟ้าสายสีเหลืองในปีนี้อยู่ที่ราว 1 พันล้านบาท ขณะเดียวกัน บริษัทฯ ยังมีแผนจะจัดหาขบวนรถให้เสริมบริการในอนาคต โดยจะเพิ่มจากปัจจุบัน 1 ขบวน 4 ตู้ เป็น 1 ขบวน 7 ตู้

สำหรับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว – สำโรง มีระยะทางรวม 30.40 กิโลเมตร เป็นระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (Monorail) แบบคร่อมรางบนทางวิ่งยกระดับตลอดเส้นทาง มีสถานีทั้งสิ้น 23 สถานี โดยมีจุดเริ่มต้นเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (MRT สายสีน้ำเงิน) ที่สถานีลาดพร้าว บริเวณแยกรัชดา – ลาดพร้าว แนวเส้นทางวิ่งไปตามแนวถนนลาดพร้าวจนถึงทางแยกบางกะปิ จากนั้นจะเบี่ยงไปทางทิศใต้ตามถนนศรีนครินทร์ เชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ตะวันออก) ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ที่สถานีแยกลำสาลี บริเวณแยกลำสาลี

จากนั้นแนวเส้นทางจะวิ่งไปตามแนวถนนศรีนครินทร์ ผ่านแยกต่างระดับพระรามเก้า เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ และรถไฟสายตะวันออก บริเวณแยกพัฒนาการ ที่สถานีหัวหมาก แนวเส้นทางวิ่งผ่านแยกศรีนุช แยกศรีอุดมสุข แยกศรีเอี่ยม จนถึงแยกศรีเทพา และเลี้ยวเข้าถนนเทพารักษ์ สิ้นสุดเส้นทางที่จุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบริ่ง – สมุทรปราการ ที่สถานีสำโรง บริเวณแยกเทพารักษ์ โดยมีศูนย์ซ่อมบำรุงฯ บริเวณสถานีศรีเอี่ยม สำหรับผู้ใช้รถยนต์สามารถนำรถมาจอดได้ที่อาคารจอดแล้วจรสถานีศรีเอี่ยม และที่อาคารจอดแล้วจรสถานีลาดพร้าว เพื่อเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน

“คีรี” ประกาศเปิดบริการรถไฟฟ้า”สายสีชมพู” พ.ย.นี้
*”เหลือง-ชมพู” เปิดช้าเสียหายแล้วกว่า 7 พันล้าน
*พร้อมเจรจาขยายสีเหลืองเพื่อประโยชน์ประชาชน
*สู้จน ”สีส้ม”ชนะจะหยุดยั้งเอาเปรียบประเทศชาติ
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/811052513805318
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 44519
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 21/06/2023 8:36 am    Post subject: Reply with quote

เปิดเส้นทางรถไฟฟ้า 9 สี 9 สาย เชื่อมต่อง่าย สะดวกทุกการเดินทาง
ผู้จัดการออนไลน์ 21 มิ.ย. 2566 07:50 น.

Click on the image for full size

การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งไทยเชื่อมต่อการเดินทางและการขนส่งเดินหน้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นภารกิจสำคัญที่กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการมาโดยตลอด และในปี 2566 นี้ เนื่องในโอกาสครบรอบ 111 ปี ของกระทรวงคมนาคม ที่ได้สร้างสุขทุกการเดินทาง และสานต่อ เสริมสร้างแผนงาน นโยบายคมนาคม รวมทั้งพร้อมรองรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ทั้ง ถนน ราง น้ำและอากาศ ที่จะอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย นอกจากนี้ กระทรวงคมนาคมได้ขับเคลื่อนนโยบายการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยการดำเนินโครงการพัฒนาโครงข่ายรถไฟฟ้าที่ตอบโจทย์การเดินทางของผู้คนในยุคปัจจุบัน ที่สามารถเชื่อมโยงวิถีชีวิตคนเมืองทั้งกรุงเทพฯ และปริมณฑลได้เป็นอย่างดี กับโครงข่ายรถไฟฟ้า 9 สี 9 สาย ที่เปิดให้บริการแล้วและเตรียมเปิดให้บริการ เพื่อให้ประชาชนเดินทางไปไหนมาไหนด้วยความสะดวกสบายและประหยัดเวลา

รถไฟฟ้า 9 สี 9 สาย ใกล้ที่ไหนเริ่มเดินทางที่นั่น

การเดินทางด้วยรถไฟฟ้า ถือเป็นทางเลือกอันดับแรก ๆ ของการเดินทางที่สะดวกที่สุดสำหรับชั่วโมงเร่งรีบ โดยปัจจุบันรถไฟฟ้ามีทั้งหมด 9 สาย ซึ่งเปิดให้บริการประชาชนแล้ว 8 สาย และอีก 1 สาย ที่เตรียมเปิดให้บริการ คือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน (BTS สายสุขุมวิท) คูคต - เคหะฯ สายสีเขียวเข้ม (BTS สายสีลม) สนามกีฬาแห่งชาติ - บางหว้า สายสีทอง สถานีกรุงธนบุรี - สถานีคลองสาน รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สายสีน้ำเงิน หัวลำโพง - บางแค และบางชื่อ - ท่าพระ รถไฟฟ้า MRT สายสีม่วง เตาปูน - คลองบางไผ่ รถไฟฟ้าสายสีแดง สถานีกลางบางซื่อ - รังสิต และบางซื่อ - ตลิ่งชัน รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สถานีพญาไท - สถานีสุวรรณภูมิ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว - สำโรง และรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย - มีนบุรี เตรียมเปิดให้บริการภายในปี 2567

ใช้รถไฟฟ้าเชื่อมต่อง่าย เดินทางสะดวก

การเดินทางด้วยรถไฟฟ้าแต่ละสายจะมีสถานีเชื่อมต่อการเดินทาง ทำให้ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนเส้นทางการใช้รถไฟฟ้าได้อย่างสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยรถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน (BTS สายสุขุมวิท) สถานีสำโรงเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีเหลือง สถานีสำโรง , สถานีสยามเชื่อมต่อ รถไฟฟ้า BTS สายสีเขียวเข้ม (BTS สายสีลม) สถานีสยาม, สถานีพญาไทเชื่อมต่อรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สถานีพญาไท, รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม (BTS สายสีลม) สถานีกรุงธนบุรี เชื่อมต่อสายสีทอง สถานีกรุงธนบุรี, สถานีวัดพระศรีมหาธาตุเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีชมพู สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ (ปี 2567)

ส่วนรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สายสีน้ำเงิน มีสถานีเชื่อมต่อการเดินทางอยู่หลายสถานี ได้แก่ สถานีสุขุมวิทเชื่อมต่อรถไฟฟ้า BTS สถานีอโศก, สถานีสวนจตุจักรเชื่อมต่อรถไฟฟ้า BTS สถานีหมอชิต, สถานีพหลโยธินเชื่อมต่อรถไฟฟ้า BTS สถานีห้าแยกลาดพร้าว, สถานีสีลมเชื่อมต่อรถไฟฟ้า BTS สถานีศาลาแดง, สถานีบางหว้าเชื่อมต่อรถไฟฟ้า BTS สถานีบางหว้า, สถานีบางซื่อเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีแดง สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์, สถานีเตาปูนเชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT สายสีม่วง สถานีเตาปูน, สถานีลาดพร้าวเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีเหลือง สถานีลาดพร้าว, สถานีเพชรบุรีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สถานีมักกะสัน

ด้านรถไฟฟ้า MRT สายสีม่วง สะดวกต่อการเดินทางได้ที่สถานีบางซ่อนเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีแดง สถานีบางซ่อน, สถานีศูนย์ราชการนนทบุรีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีชมพู สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี ขณะที่รถไฟฟ้าสายสีแดง สามารถเชื่อมการเดินทางเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีชมพู ที่สถานีหลักสี่

สำหรับรถไฟฟ้าสายสีเหลือง สามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ที่สถานีหัวหมาก ทั้งนี้ ผู้โดยสารที่ใช้บริการรถไฟฟ้าในการเดินทาง ควรศึกษาและวางแผนการเดินทางให้ถูกต้อง เพื่อความปลอดภัยและใช้เวลาในการเดินทางได้อย่างเหมาะสม

กระทรวงคมนาคมยังคงเดินหน้าไปสู่เป้าหมายสำคัญที่ในการพัฒนาโครงข่ายรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 44519
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 22/06/2023 4:11 pm    Post subject: Reply with quote

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง มาเร็ว หรือ ช้าไป? | กันต์ เอี่ยมอินทรา
กรุงเทพธุรกิจ By กันต์ เอี่ยมอินทรา | Overseas & Edu22 มิ.ย. 2566 เวลา 15:45 น.

"รถไฟฟ้าสายสีเหลือง" ช่วงลาดพร้าว สำโรง เปิดทดลองให้ประชาชนย่านกรุงเทพตะวันออก จนถึงสมุทรปราการใช้งานแล้ว

ถือเป็นอีกหนึ่งความพยายามในการเชื่อมต่อโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนระบบรางที่ไทยพยายามพัฒนาเพื่อเชื่อมต่อระหว่างแถบกรุงเทพฯ ชั้นนอกกับปริมณฑล ถามว่าเป็นอะไรที่ใหม่จนน่าตื่นตาตื่นใจหรือไม่ ก็คงต้องตอบว่าไม่ใช่ ส่วนคำถามที่ว่ามาช้าหรือมาเร็ว ก็ต้องขึ้นกับปัจจัยเปรียบเทียบและความรู้สึกของคนที่มอง

ผมเป็นวัยรุ่นในยุคที่รถไฟฟ้าสายแรกเปิด (เมื่อปี 2542) และยังจำความรู้สึกตื่นเต้นของคนกรุงเทพฯ ในช่วงที่มีการฉลองรถไฟฟ้าเปิดได้เป็นอย่างดี ความรู้สึกตื่นเต้น ความรู้สึกถึงความสุข ความรู้สึกถึงความสะดวกสบาย แต่เดิมเรามีรถไฟฟ้าเพียง 2 สายคือสายอ่อนนุช-จตุจักร และสายสีลม ทำให้การเดินทางไปตลาดนัดสวนจตุจักรของวัยรุ่นที่บ้านอยู่สาทรนั้นง่ายกว่าเดิมขึ้นมาก ผมยังจำได้ว่าวันแรกที่เปิดรถไฟฟ้านั้นคนกรุงเห่อกันมาก ผมยังจำภาพที่มองลงมาจากรถไฟฟ้าชั้น 3 ที่เห็นแต่สีดำของหัวคนไทยแน่นเต็มแพลตพอร์มไปหมด

5 ปีต่อมา มีรถไฟฟ้าใต้ดิน แม่ผมซึ่งก็เป็นชาวบ้านคนธรรมดาก็ยังไม่ค่อยมั่นใจจะใช้รถไฟใต้ดินเพราะกลัวเรื่องความปลอดภัย จนกระทั่งในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จเปิดและใช้รถไฟใต้ดิน แม่บอกว่าขนาดในหลวงยังใช้ได้ ก็แปลว่าปลอดภัย จึงกล้าใช้


ตั้งแต่วันนั้นที่รถไฟฟ้าเปิดในไทยครั้งแรกจนกระทั่งวันนี้ นับได้เกือบ 25 ปีแล้ว โครงข่ายได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริเวณที่รถไฟฟ้าตัดผ่านได้พัฒนากลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ราคาที่ดินแพงขึ้น

แต่เราก็ยังคงมีคำถามในใจว่า แล้วระบบรางโดยเฉพาะหากโฟกัสที่รถไฟฟ้าในเขตเมืองใหญ่นั้น เราพัฒนาได้ช้าหรือเร็วเมื่อเทียบกับต่างประเทศ ซึ่งคำตอบก็คงขึ้นกับตัวเปรียบเทียบ หากเราเทียบกับประเทศที่ด้อยพัฒนากว่า อาทิ เมียนมาหรือลาว ก็ต้องตอบว่า เราดีกว่าหลายขุม แต่ถ้าหากเราเทียบกับประเทศอื่น ๆ อาทิ จีน ก็คงต้องตอบว่า เราพัฒนาช้ากว่ามาก ๆ

ระบบรางของจีนนั้นถือเป็นหนึ่งในเครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจ เครื่องมือการกระจายความเจริญ กระจายความมั่งคั่ง ขนทั้งคนขนทั้งสินค้า และก็มีการสร้างรางรถไฟและพัฒนาต่อมาอย่างต่อเนื่องไม่มีสะดุด จากระบบรางที่ไม่มีใครพูดถึงหรือยกเป็นกรณีศึกษาเลยเมื่อหลายสิบปีก่อน จนกลายมาเป็นประเทศที่มีระบบรางยาวที่สุดอันดับ 2 ของโลกที่ ประมาณ 155,000 กม. รองจากอันดับ 1 ตลอดกาลอย่างสหรัฐที่เกือบ 300,000 กม.

จีนมีระบบรถไฟความเร็วสูงเชื่อมต่อระหว่างเมืองใหญ่ และในเมืองใหญ่ก็มีระบบรางเพื่อใช้ในเมือง แต่ถึงกระนั้นการพัฒนาสร้างรางเพิ่มก็ยังไม่ได้หยุดแต่อย่างใด ยังคงมีการสร้างรางเพิ่มอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทุกปี เช่นเดียวกับประเทศญี่ปุ่นที่ได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีระบบรางที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แต่ก็ยังไม่ได้หยุดการสร้างหยุดการปรับปรุงพัฒนาให้ระบบกว้างขวางครอบคลุมและดีขึ้นไปเรื่อย ๆ มีการสร้างทางรถไฟสายใหม่ ๆ โดยเฉพาะรถไฟความเร็วสูง

ขณะที่ระบบรางของไทยนั้นยังถือว่าพัฒนาได้ไม่เต็มที่เท่าที่ควร หากเปรียบเทียบกับขนาดเศรษฐกิจของเรา ความยาวโดยรวมของทางรถไฟในไทยนั้น ไม่จะว่าเป็นรถไฟฟ้าบนดิน รถไฟใต้ดิน หรือรถไฟปกติ อยู่ที่ 4,127 กม. ยาวเป็นอันดับที่ 47 ของโลก เป็นรองแม้กระทั่งประเทศเมียนมา ซูดาน และการพัฒนาระบบรางที่ช้าและกินแต่บุญเก่าของเรานั้น ได้สร้างปัญหาทั้งในเชิงโครงสร้างและสังคมกับไทยอย่างต่อเนื่อง อาทิ ปัญหาความเหลื่อมล้ำ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาต้นทุนค่าขนส่งสินค้าที่แพง ไล่เรียงไปจนถึงปัญหาส่วยรถบรรทุก

ยังไม่ต้องพูดถึงระบบขนส่งในเมืองใหญ่อื่น ๆ ในภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ ภูเก็ต หาดใหญ่ ที่แม้แต่รถประจำทางก็ยังไม่มี ถือเป็นเรื่องจริงที่น่าเศร้าสำหรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเราอย่างยิ่ง


รถไฟฟ้าสารพัดสี ผลงานรัฐบาลบิ๊กตู่ สู่มหานครระบบราง
Source - ฐานเศรษฐกิจ
Saturday, June 24, 2023 06:46
เปิดผลงานรัฐบาลบิ๊กตู่ ปูพรมลงทุนรถไฟฟ้าสารพัดสี-รถไฟทางคู่-ไฮสปีด บูมเศรษฐกิจ ดันไทยมหานครระบบราง กระทรวงคมนาคม ชงครม.เคาะค่าโดยสารตั๋วร่วม

สร้างปรากฎการณ์พลิกโฉมเมืองครั้งสำคัญครั้งเมื่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มีนโยบายพัฒนาโครงข่ายรถไฟฟ้าสารพัดสีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทยอยแล้วเสร็จ เปิดให้บริการในหลายเส้นทาง ล่าสุดรถไฟฟ้ามหานคร MRT สายสีเหลือง (ลาดพร้าวสำโรง)กดปุ่มเดินรถเสมือนจริง พร้อมเตรียมเก็บค่าโดยสาร และใช้ตั๋วร่วม หรือโครงการบัตรโดยสารใบเดียว อำนวยสะดวกการเดินทางแบบไร้รอยต่อ ตามด้วยรถไฟฟ้าสายสีชมพู (แคราย-มีนบุรี)

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เปิดเผยว่า การพัฒนาระบบรางเชื่อมการเดินทางให้ครบวงรอบ สร้างความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจประเทศ ลดการใช้พลังงาน การเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิง ลดมลพิษ ทางอากาศ PM2.5 แก้ปัญหาจราจรติดขัด ร่นระยะเวลาเดินทาง สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีต่อประชาชน รวมทั้งยังสร้างความเจริญให้กับพื้นที่

ขณะเดียวกันต้องพัฒนาการเชื่อมต่อให้ดียิ่งขึ้นโดยเฉพาะระบบตั๋วร่วม หรือโครงการบัตรโดยสารใบเดียวใช้ได้ทุกระบบโครงข่าย โดยกระทรวงคมนาคมได้รายงานมาแล้ว ส่วนเรื่องการเก็บค่าโดยสารของรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรงในวันที่ 3 กรกฎาคมนี้นั้น กระทรวงคมนาคมจะต้องเสนอเข้าที่ประชุม ครม.เพื่อเห็นชอบอนุมัติและรับทราบต่อไป

"วันหน้าเราได้วางแผนเรื่องการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟฟ้าในลักษณะใยแมงมุม รวมถึงการพิจารณาใช้ตั๋วร่วมตลอดการเดินทาง เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชน ให้ลดลงได้บ้าง ส่วนการจัดเก็บค่าตั๋ว เริ่มที่ 15-45 บาท ซึ่งเราจะต้องมีการพูดคุยต่อในเรื่องค่าแรกเข้าต่างๆ ซึ่งอยู่ในขั้นตอนของการดำเนินการ ส่วนอาคารจอดรถขณะนี้ยังเพียงพอ แต่ปัญหาอยู่ที่ว่าในอนาคตหากมีประชาชนมาใช้บริการเพิ่มขึ้น คงต้องให้รัฐบาลชุดหน้า มาดำเนินการแทนแล้วกัน"
รายงานข่าวจากกระทรวงคมนาคม กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับแผนโครงข่ายระบบขนส่งทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (M-MAP) ระยะ 20 ปี (ปี 2553-2572) ปัจจุบันมีการเปิดบริการแล้ว 11 สายทางระยะทางรวม 211.94 กิโลเมตร (กม.) ประกอบด้วย 1.รถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-เคหะสมุทรปราการ 2.รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงบางซื่อหัวลำโพง 3.รถไฟฟ้า BTS สายสีลม และส่วนต่อขยาย ช่วงตากสิน-บางหว้า4.รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ช่วงพญาไท-สุวรรณภูมิ 5.รถไฟฟ้าสายสีม่วงช่วงเตาปูน-คลองบางไผ่ 6.รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงหัวลำโพง-หลักสอง 7.รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ช่วงเตาปูนท่าพระ 8.รถไฟฟ้าสายสีทอง ช่วงกรุงธนบุรี-คลองสาน 9.รถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต 10.รถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ-รังสิต และ11. รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน ช่วงหมอชิต-ตลิ่งชัน

ล่าสุดได้มีการเปิดให้ประชาชนทดลองใช้บริการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงสำโรง-หัวหมาก ฟรี เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ที่ผ่านมา จำนวน 13 สถานี หลังจากนั้นได้มีการเปิดเดินรถครบตลอดสายทั้ง 23 สถานี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2566 โดยมีพล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในการเปิดโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายสีเหลืองอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นรถไฟฟ้าสายสีเหลืองขบวนแรกที่ใช้รูปแบบโมโนเรล วิ่งทดสอบระบบตลอดสายลาดพร้าว-สำโรง จำนวน 23 สถานี

นอกจากนี้ยังมีโครงการรถไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง จำนวน 4 สายทาง ประกอบด้วย 1.รถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี ปัจจุบันภาพรวมโครงการมีผลงาน 96.73% เบื้องต้นได้เร่งรัดงานในทุกส่วน เพื่อเปิดให้ประชาชนใช้บริการได้บางช่วงภายในปีนี้ โดยเฉพาะช่วงสถานีหลักสี่-สถานีมีนบุรี รวม 17 สถานี จากทั้งหมด 30 สถานี หลังจากนั้นจะเปิดทดลองเดินรถภายในเดือน มกราคม 2567 หรืออย่างเร็ว เดือนพฤศจิกายน 2566 และเปิดให้บริการตลอดเส้นทาง ภายในเดือน มิถุนายน 2567

2.รถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีชมพู ช่วงสถานีศรีรัช-เมืองทองธานี ปัจจุบันยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง เบื้องต้นบริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด (NBM) ผู้รับสัมปทานรถไฟฟ้าสายนี้พยายามเร่งรัดการเปิดให้บริการเร็วขึ้นภายในปลายปี 2567 จากแผนที่คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ประมาณกลางปี 2568

3.รถไฟฟ้าสายสีส้ม (ตะวันออก) ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยมีนบุรี ปัจจุบันยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง มีความก้าวหน้างานโยธา 99.85% ที่ใกล้แล้วเสร็จในเร็วๆ นี้ แต่ยังไม่สามารถเปิดให้บริการได้ เนื่องจากคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 ได้ดำเนินการคัดเลือกเอกชนตาม พ.ร.บ.การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 แล้วเสร็จ ปัจจุบันได้มีการเสนอผลการคัดเลือกเอกชนและร่างสัญญาร่วมลงทุนโครงการฯ ต่อกระทรวงคมนาคม และคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาตามขั้นตอนทางกฎหมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ครม. ชุดใหม่เป็นผู้พิจารณา

4.รถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) หรือสายสีม่วงใต้ ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2570

ขณะที่โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายบางปะอิน- นครราชสีมา ปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง มีผลงานด้านงานโยธา (ปรับแก้แผนงานใหม่) ณ สิ้นเดือน พ.ค. 2566 อยู่ที่ 89.299% คาดว่าแล้วเสร็จปลายปี 2566 จำนวน 29 ตอน ส่วนอีก 7 ตอน ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง แล้วเสร็จปลายปี 2567 และอีก 4 ตอน จะดำเนินการแล้วเสร็จปลายปี 2568 ซึ่งมีแผนจะเปิดให้ประชาชนใช้บริการได้บางส่วนภายในปี 2566

ด้านโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) M81 บางใหญ่-กาญจนบุรี เบื้องต้นอยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้างโครงการฯ ระยะทาง 96 กิโลเมตร (กม.) มีความคืบหน้า 90.21% คาดว่าจะเตรียมเปิดให้ประชาชนทดสอบใช้บริการฟรี 3 เดือน โดยจะเริ่มเปิดให้ใช้งานช่วงเดือนก.ย.หรือ ต.ค. 2567

ทั้งนี้โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) M81 บางใหญ่-กาญจนบุรี ผ่าน 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม และกาญจนบุรี จะทำให้การเดินทางจากกรุงเทพฯ และปริมณฑล ไปยังภาคตะวันตกของประเทศ สะดวกและ ประหยัดเวลาขึ้นทำให้การเดินทางจาก อ.บางใหญ่กาญจนบุรี ใช้เวลาเพียง 50 นาที เมื่อเปรียบเทียบกับการเดินทาง โดยใช้ทางหลวงแผ่นดิน ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2 ชม. 30 นาที

รวมถึงโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ใหม่ สายเหนือ สายเด่นชัยเชียงราย-เชียงของที่วันนี้อยู่ระหว่างเวนคืนก่อสร้างไปแล้วกว่า 10% หลังจากรถไฟเส้นทางนี้ถูกดองมากว่า 60 ปี นับตั้งแต่ปี 2503 และ โครงการรถไฟทางคู่ใหม่สายอีสาน สายบ้านไผ่นครพนม อยู่ระหว่างดำเนินการเช่นเดียวกัน รวมถึงรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จภายในปี 2569 และโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อมสามสนามบิน ที่อยู่ระหว่างแก้ไขสัญญาและรอรัฐบาลชุดใหม่อนุมัติ เป็นต้น

"เราได้วางแผนเรื่องการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟฟ้าในลักษณะใยแมงมุม รวมถึงการพิจารณาใช้ตั๋วร่วมตลอดการเดินทาง เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชน"

ที่มา: นสพ.ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 25 - 28 มิ.ย. 2566
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42708
Location: NECTEC

PostPosted: 25/06/2023 11:10 pm    Post subject: Reply with quote

#แผนที่ร้านของกินเด็ดๆตามรถไฟฟ้าครบทุกสายครบทุกสถานี โพสนี้ผมรวบรวมร้านเด็ดๆ แต่หลักสิบไม่แพง สตรีทฟู้ดเน้นๆ มาให้หมดจบในโพสเดียวแล้ว ไปดูเลยยยยย
BTSสายสีเขียว หมอชิต-สำโรง ,สายสุขุมวิท
1.หมอชิต ร้านมะม่วงน้ำปลาหวาน ตลาดนัดจตุจักร
2.สะพานควาย ร้านก๋วยเตี๋ยวต้มยำนัว
3.อารีย์ ร้านข้าวราดแกงพอใจ
4.สนามเป้า, ร้านเหลา ก๋วยเตี๋ยวเป็ด bts สนามเป้า
5.อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ร้านก๋วยจั๊บนํ้าข้นเจ๊แดง
6.พญาไท, ร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาแปะเตียง
7.ราชเทวี ร้านDaiKatana
8.สยาม, ร้านหมูปิ้งไก่ปิ้งใต้btsสยามช่วงค่ำๆ
9.ชิดลม ก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่ ในอัมรินทร์พลาซ่า
10.เพลินจิต, ส่วนตัวชอบกินตรงแถวๆข้างหน้าถนน ดวงพิทักษ์
11.นานา, แนะนำมากินที่ฟู้ดคอร์ทterminal21ดีกว่า นั่งมาอีกสถานีนึง
12.อโศก กินที่ฟู้ดคอร์ทTerminal 21เลย
13.พร้อมพงษ์ ร้านรุ่งเรือง ก๋วยเตี๋ยวหมูต้มยำ
14.ทองหล่อ ร้านแซว ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา
15.เอกมัย ร้านวัฒนาพานิช
16.พระโขนง ร้านเฮียบิ๊กห้าหม้อ
17.อ่อนนุช ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเจ้าสัว อ่อนนุช
18.บางจาก ร้านหมูทอดจับกัง
19.ปุณณวิถี ร้านลูกชิ้นหมูเจ๊เกียว
20.อุดมสุข ร้านเลิศสุดา ข้าวมันเป็ด
21.บางนา ร้านปันๆทะเล(ผมจำชื่อเป๊ะๆไม่ได้ อยู่ในตลาดเปิดท้ายบิ๊กซีบางนา)
22.แบริ่ง แนะนำกินที่ ตลาดต้นไทรแบริ่ง(เปิดค่ำๆ)
23.สำโรง ร้านข้าวหมูแดงสวนหลวง – ปู่เจ้า
24.ปู่เจ้า ร้านแต้จินกวง ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา
25.ช้างเอราวัณ ร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลานายใบ้
26.โรงเรียนนายเรือ ร้าน Bakerlicious เบเกอรี่ทุกอย่าง 35 บาท
27.ปากน้ำ ร้านนายปาด ปลาหมึก
28.ศรีนครินทร์ ร้านบะหมี่เจ๊กเห่า
29.แพรกษา ร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อเจ้หงษ์
30.สายลวด ร้านเป็ดย่าง เฮียเป็ด
31.เคหะฯ ร้านก๋วยเตี๋ยวเฮียตึ๋ง
BTSสายสีเขียวเข้ม สนามกีฬาแห่งชาติ-บางหว้า
1. สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ร้านนุ้งหนึบโมจิทอด
2. สถานีสยาม ร้านหมูปิ้งไก่ปิ้งใต้btsสยามช่วงค่ำๆ
3. สถานีราชดำริ ร้านโจ๊กสามย่าน ซอยจุฬา11
4. สถานีศาลาแดง ร้านน้ำเงี้ยวป้าสุข ก๋วยเตี๋ยวสิบสองปันนา
5. สถานีช่องนนทรี ร้านราดหน้ายอดผักนายเหลา
6. เซนหลุยส์ ร้านบะหมี่เกี๊ยวปูหมูแดง ซอย สาทร 11
7. สถานีสุรศักดิ์ ร้านขาหมูเจริญแสงสีลม
8.สถานีสะพานตากสิน ร้านข้าวขาหมูตรอกซุง บางรัก
9. สถานีกรุงธนบุรี ร้านปุ๊สุกี้
10. สถานีวงเวียนใหญ่ ร้านผัดไท นรกแตก
11. สถานีโพธิ์นิมิตร ร้านลิ้มโภชนาข้าวมันไก่
12. สถานีตลาดพลู ร้านนิ-อ่าง น้ำแข็งไส ไอศครีม
13. สถานีวุฒากาศ ร้านสุกี้ร้านฮ้อ
14. สถานีบางหว้า ร้านฮ้อเจี๊ยะ ติ่มซำนึ่งสด
MRTสายสีน้ำเงิน บางซื่อ-หัวลำโพง/รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT
1. หัวลำโพง ร้านข้าวหมูแดงสีมรกต
2.สามย่าน ร้านโจ๊กสามย่าน
3.สีลม ร้านร้านน้ำเงี้ยวป้าสุข ก๋วยเตี๋ยวสิบสองปันนา
4.ลุมพินี ร้านอาหารเฉโป
5.คลองเตย ร้านก๋วยเตี๋ยวเป็ด เต้นระบำ
6.ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ร้านหมูทอดเจ๊จง
7.สุขุมวิท กินที่ฟู้ดคอร์ทTermanal21เลยย
8.เพชรบุรี ร้านเตี๋ยวรู
9.พระราม 9 หาของกินสตรีทฟู้ดที่ไม่แพงไม่ออกแฮะ ถ้าให้แนะนำก็จ๊อดแฟร์แหละ
10.ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ร้านก๋วยจั๊บญวน ในบิ๊กซีรัชดา
11.ห้วยขวาง กินแถวๆตลาดห้วยขวางเลย
12.สุทธิสาร กินที่ตลาดเมืองไทยภัทรเลย
13.รัชดาภิเษก ส่วนตัวกินที่รัชดาทางออก3อ่ะ
14.ลาดพร้าว ร้านเฮียช้อ
15.พหลโยธิน ร้านต้มเลือดหมู ตรอกเซ็นลาด
16.สวนจตุจักร ร้านไทยากิHan’z ไม่ก็มะม่วงน้ำปลาหวาน ที่ตลาดจตุจักร
17.กำแพงเพชร ของกินที่ตลาด อตก.เลย
18.บางซื่อ ร้านก๋วยจั๊บสามทุ่ม
Airport Rail Link สาย พญาไท-สุวรรณภูมิ
1.พญาไท, ร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาแปะเตียง
2.ราชปรารภ, ร้านก่วงเฮงไก่ตอนประตูน้ำ
3. มักกะสัน, ส่วนตัวแนะนำกินที่ฟู้ดคอร์ทterminal21(ไกลหน่อย)
4.รามคำแหง, ผมแนะนำแถวรามคำแหง24ไกลหน่อย ร้านอร่อยๆเยอะ
5. หัวหมาก, ผมแนะนำแถวรามคำแหง24 ร้านอร่อยๆเยอะ
6.บ้านทับช้าง, แนะนำไปกินแถวลาดกระบัง
7.ลาดกระบัง, ร้านขนมบะบิ่นกัสโต้(แต่คิวน่าจะยาว)
8. สุวรรณภูมิ แนะนำฟู้ดคอร์ทในสนามบินแหละ เพราะนึกไม่ออกละว่าแถวนี้อะไรคุ้ม5555
MRT สายสีม่วง เตาปูน-คลองบางไผ่
1. เตาปูน ร้านก๋วยจั๊บจรัสพัฒน์
2.บางซ่อน ร้านข้าวมันไก่ตอน รสเด็ดสูตรไหหลำ เฮง เฮง เฮง
3.วงศ์สว่าง ร้านก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋น วัดทองสุทธาราม
4.แยกติวานนท์ ร้านกุยช่าย เจ็ดสี
5.กระทรวงสาธารณสุข ร้านมงคลข้าวมันไก่
6.ศูนย์ราชการนนทบุรี ร้านก๋วยเตี๋ยวหน้าบ้าน
7.บางกระสอ ร้านอ้าเลือดหมู
8.แยกนนทบุรี 1 ร้านข้าวขาหมูตรอกไก่บางรัก
9.สะพานพระนั่งเกล้า แนะนำกินที่ตลาดต้นสัก สนามบินน้ำ นนทบุรี
10.ไทรม้า ร้านนั่ง๙ ข้าวแกง
11.บางรักน้อยท่าอิฐ ร้านก๋วยเตี๋ยว เต็กกอ รัตนาธิเบศร์
12.บางรักใหญ่ ร้านเหล่าเฮง ลูกชิ้นปลา
13.บางพลู ร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นน้ำใส แยกบางพลู
14.สามแยกบางใหญ่ ร้านก๋วยเตี๋ยวดงกล้วย
15. ตลาดบางใหญ่ ร้านขนมจีนป้าดวงดี
16.คลองบางไผ่ ร้านก๋วยจั๊บน้ำข้น เจ้าเก่าโคลีเซี่ยม
BTSสายสีเขียวเข้ม หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต
1. สถานีห้าแยกลาดพร้าว ร้านต้มเลือดหมู ตรอกเซ็นลาด
2. สถานีพหลโยธิน 24 ร้านโจ๊กพี่นะ อยุธยา @ซอยเสือใหญ่อุทิศ
3. สถานีรัชโยธิน กินที่ตลาดข้างๆเมเจอร์รัชโยเลย
4. สถานีเสนานิคม ร้านพี่กร ม.เกษตร บางเขน
5. สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร้านก๋วยเตี๋ยวยอดมนุษย์
6. สถานีกรมป่าไม้ ร้านก๋วยเตี๋ยวหมูน้ำตกป้าเพ็ญ
7. สถานีบางบัว กินที่ตลาดบางบัวเลย
8. สถานีกรมทหารราบที่ 11 ร้านข้าวต้มขาไก่(ร้านนี้อาจจะหลุดตรีมหน่อย ใครมีแนะนำให้หน่อยนะ)
9. สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ ร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นหมูวัดพระศรีบางเขน
10. สถานีอนุสาวรีย์หลักสี่ เหมือนจะไม่มี
11. สถานีพหลโยธิน59 ร้านก๋วยเตี๋ยวเย็นตาโฟเจ๊สมทรง
12. สถานีสายหยุด ร้านข้าวต้มบุษบงก์ (ร้านนี้เกินงบร้อยมา)
13. สถานีสะพานใหม่ กินในตลาดยิ่งเจริญเลยย
14. สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช แนะนำกินที่ตลาดโต้รุ่ง ทอ.
15. สถานีพิพิธพัณฑ์กองทัพอากาศ ร้านก๋วยเตี๋ยว ป้าหลวย กม.25
16. แยกคปอ. ร้านร้านก๋วยเตี๋ยวเรือไพริน
17.สถานีคูคต ร้านก๋วยเตี๋ยวต้มยำกากหมูสูตรโบราณ
MRTสายสีน้ำเงิน หัวลำโพง-บางแค และบางซื่อ-ท่าพระ
เส้นหัวลำโพง-บางแค
1.สถานีวัดมังกร กินแถวเยาวราชเลย
2. สามยอด ร้านทอดมันปิ้ง สูตรอากง
3.สนามไชย ร้านเสียวหลัง
4.อิสรภาพ ร้านต้มเนื้อป๋าเหมี่ยว
5. ท่าพระ ร้านฉอเล้ง หมี่กระเฉด ตลาดพลู
6.บางไผ่ ร้านเล่อขาหมูทรงเครื่อง
7.บางหว้า ร้านฮ้อเจี๊ยะ ติ่มซำนึ่งสด
8.เพชรเกษม 48 ร้านช้อนทองชวนทาน อาหารใต้
9.ภาษีเจริญ ร้านก๋วยเตี๋ยวเรืออยุธยา เจ๊ตุ๊ก สวนข่อย
10. บางแค ร้านกะเพราในตำนาน ในซีคอนบางแค จานปกติ70-80 แต่เมนูแนะนำแพงหน่อย
11.หลักสอง ส่วนตัวแนะนำในเดอะมอลล์บางแค เพราะไปทีไรผมกินในเดอะมอลล์บางแคตลอดเลย 5555
เส้นบางซื่อ-ท่าพระ
1. สถานีเตาปูน ร้านก๋วยจั๊บจรัสพัฒน์
2.บางโพ ร้านแป๊ะโจ๊กหม้อทองเหลือง 38 ปี
3.บางอ้อ ร้านซัยยิโด้ ข้าวหมกไก่ จีราพันธ์
4.บางพลัด ร้านลูกชิ้นน้ำใสบางพลัด
5.สิรินธร ร้านขาหมู ฮ่องเต้ บางพลัด
6.บางยี่ขัน ร้านลุงกับป้า ก๋วยเตี๋ยวต้มยำบะช่อ
7.บางขุนนนท์ ร้านตั้งเลียกเส็งบะหมี่ปู
8.แยกไฟฉาย ร้านเตี๋ยวเรือคนมีเส้น
9.จรัญสนิทวงศ์13 ร้านก๋วยเตี๋ยวโอเอรสเด็ด (ตรงข้ามวัดดีดวด)
10.ท่าพระ ร้านโจ๊กท่าพระ(เตาถ่าน)
สายสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน
1.สถานีบางซื่อ ร้านก๋วยจั๊บสามทุ่ม
2.สถานีบางซ่อน ร้านข้าวมันไก่ตอน รสเด็ดสูตรไหหลำ เฮง เฮง เฮง
3.สถานีพระราม 6 ร้านแป๊ะโจ๊กหม้อทองเหลือง 38 ปี
4.สถานีบางกรวย – กฟผ.
5.สถานีบางบำหรุ
6 . สถานีชุมทางตลิ่งชัน ร้านก๋วยเตี๋ยว เรือ ฮวงจื้อ
สายสีแดงเข้ม บางซื่อ-รังสิต
1.บางซื่อ ร้านก๋วยจั๊บสามทุ่ม
2.จตุจักร กินที่จตุจักรเลยยย
3. วัดเสมียนนารี ร้านก๋วยเตี๋ยวหมูชลนิเวศน์ เจ๊แกละ
4.บางเขน ร้านร้านพี่กร ม.เกษตร บางเขน
5. ทุ่งสองห้อง กินแถวม.เกษตรเลยยย
6. หลักสี่ ร้านขาหมูเมืองทอง(ไกลหน่อยนะจากสถานี)
8. การเคหะ ร้านเพ็ญข้าวขาหมู
9.ดอนเมือง ร้านต้มเลือดหมูเจ๊หมวยดอนเมือง
10.หลักหก ร้านป้าจอย ตามสั่ง
11. รังสิต ร้านเตี๋ยวเป็ด เฮียตี๋ บ้านนา
สายสีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง)(เปิดใหม่)
ช่วง ลาดพร้าว – พัฒนาการ
1.ลาดพร้าว ร้านเฮียช้อ
2. ภาวนา ร้านก๋วยเตี๋ยวเรืออยุธยาลาดพร้าววังหินซ.4
3.โชคชัย 4 ร้านเครปนมสดจุฑาพร(คิวน่าจะเยอะ)
4.ลาดพร้าว 71 ร้านยินดีทำ 2
5. ลาดพร้าว 83 กินที่ตลาดข้างหน้าอิมพิเรียลเลย
6.มหาดไทย กินแถวๆข้างๆโรงพยาบาลลาดพร้าว
7.ลาดพร้าว 101 ร้านเจ๊เตียงก๋วยจั๊บญวน เส้นสด
8.บางกะปิ ร้านโกบู้ รสซิ่ง
9. แยกลำสาลี ร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อสำลี
10.ศรีกรีฑา หาของที่กินแถวๆรามคำแหง24ได้เลยย
11. หัวหมาก ร้านฟารีดา ข้าวหมกไก่คลาสสิก (ไกลหน่อย)
12. กลันตัน ส่วนตัวไม่รู้จะแนะนำไหน
ถ้าใกล้ๆก็ธัญญาช็อปปิ้งนี่แหละ(ใครมีร้าน แนะนำให้ด้วยนะ)
ช่วง พัฒนาการ -สำโรง
13. ศรีนุช ร้านบะหมี่ - เกี๊ยว ข้าวหมูแดง หมูกรอบ
14. ศรีนครินทร์ 38 ร้านก๋วยเตี๋ยวเป็ดพะโล้
15. สวนหลวง ร.9 ร้านข้าวแกงปักษ์ใต้เลิศรส
16. ศรีอุดม ร้านข้าวแกงกินเก่ง
17. ศรีเอี่ยม ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ พี่ฝน แฟลตบางนา
18. ศรีลาซาล ร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อ ตุ๋น นายหมี
19. ศรีแบริ่ง ร้าน TorNoodle ต.รุ่งโรจน์ ลูกชิ้นปลา สาขาแบร์ริ่ง62
20.ศรีด่าน ร้านก๋วยจั๊บเอกไพลิน
21. ศรีเทพา ร้านอ๊ะโอ๋ก๋วยเตี๋ยวไก่มะระบุฟเฟ่ต์
22. ทิพวัล ร้านแต้จินกวง ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา
23. สำโรง ร้านข้าวหมูแดงสวนหลวง – ปู่เจ้า
ป.ล. หลายร้านในโพสนี้ผมเคยไปมาแล้ว หลายร้านผมยังไม่เคยไป แต่เป็นร้านที่ผมปักเองไว้ว่าน่าไปน่าอร่อย หาข้อมูลมา เพื่อนบอกต่อบ้าง ในแต่ละสถานีใครอยู่ใกล้ที่ไหน อยากแนะนำเพิ่มมาคอมเม้นบอกด้วยนะ ผมจะได้ตามไป
https://www.facebook.com/Henmeereview/posts/804893050998156/
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42708
Location: NECTEC

PostPosted: 27/06/2023 5:47 pm    Post subject: Reply with quote

เปิดแผนแม่บทรถไฟฟ้า 34 สายใหม่กทม.-ปริมณฑล
*มาสเตอร์แพลน26ปีM-Map2กรมรางดันสร้างต่อ
*ปี2592เพิ่มโครงข่าย 211กม.ปัจจุบันเป็น 553กม.
*ปัก12เส้นทางจำเป็นเร่งด่วนต่อขยายสีแดง 3สาย
*รื้อหัวลำโพง-มหาชัยเป็น”วงเวียนใหญ่-บางบอน”
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/815038066740096
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 44519
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 28/06/2023 6:44 am    Post subject: Reply with quote

'คมนาคม'เร่งM-Map2
Source - ไทยโพสต์
Wednesday, June 28, 2023 05:17

ปทุมวัน * นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เปิดเผยภายหลังเป็นประธานเปิดการประชุมสัมมนา เพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง และการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่ 2 หรือ M-Map2 ว่า ที่ผ่านมาเคยมีการศึกษาแผนฯ ระยะที่ 1 หรือ MMap1 พบว่าปัจจุบันมีรถไฟ ฟ้าจำนวน 12 เส้นทางที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ซึ่งตาม แผนจะครบกำหนดภายในปี 2572 ทำให้กรมฯ มีแผนเร่งดำเนินการศึกษาโครงการฯ ระยะที่ 2 หรือ M-Map2 เพื่อให้โครงการมีความต่อเนื่อง

สำหรับการศึกษาโครงการฯ คาดได้ข้อสรุปเกี่ยวกับแนวเส้นทางรถไฟฟ้า, ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการเงิน ฯลฯ ในวันที่ 24 ก.ค.2566 หลังจากนั้นกรมฯ จะเสนอต่อคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) และเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ พิจารณาเห็นชอบเพื่อออกแผนแม่บทฯ (M-Map2) ระยะเวลา 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 2573-2592 ปัจจุบันโครงการได้ออกแบบแบบจำลองคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางแล้วเสร็จ โดยนำมาดำเนินการ วางแผน M-Map2 เพื่อวิเคราะห์และกำหนดแนวเส้นทางที่มีความเป็นไปได้ เพื่อนำมาจัดลำดับความสำคัญ และดำเนินการ ศึกษาในด้านวิศวกรรม การลงทุน และสิ่งแวดล้อมต่อไป.

ที่มา: นสพ.ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 28 มิ.ย. 2566


ปรับใหญ่ 9 โซนพัฒนาเมือง
Source - ฐานเศรษฐกิจ
Wednesday, June 28, 2023 06:04

การเผยโฉม ผังเมืองรวมกรุงเทพ มหานคร (ฉบับปรับปรุงครั้งที่4)เมื่อครั้งเปิดรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง โดยกำหนดพื้นที่สำคัญไว้ดังนี้เพื่อรองรับการพัฒนาเมืองให้ขยายตัวไปตามระบบรางและการสนับสนุนพื้นที่อนุรักษ์กระตุ้นการท่องเที่ยวในหลายจุดสำคัญ

บริเวณที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์

ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (ศ.1 และ ศ.2) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.11) พาณิชยกรรม (พ.1 และ พ.2 ใหม่) และสถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ (ส.) ประกอบกับการควบคุมเขตพื้นที่ซ้อนทับ(Overlay_ Control) โดยข้อกำหนดตามแผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครตามกฎหมายควบคุมอาคารแต่ตามหลักการต้องยอมรับว่า การก่อสร้างอาคารสูงบริเวณนี้ยังมีข้อจำกัดเช่นเดิม ผังเมืองเพียงต้องการสะท้อนให้เห็นศักยภาพที่แท้จริงว่าเป็นย่านพาณิชย กรรมที่น่าจับตาและดึงดูดการท่องเที่ยวให้เข้าพื้นที่บริเวณนี้ได้โดยเฉพาะชาวต่างชาติ เนื่องจากกรุงเทพ มหานคร ยังเป็นจุดหมายปลายทางของใครหลายคน ที่คงมีเอกลักษณ์ที่ประเทศอื่นไม่มี เช่นวัด วัง ที่ถูกโอบล้อมด้วยชุมชนอยู่อาศัย สถาปัตยกรรมที่หาชมได้ยากยิ่ง

บริเวณที่ 2 รัชโยธิน

ทำเลแห่งความเจริญของกรุงเทพฯตอนเหลือ ผังเมืองรวมกทม.ใหม่ ได้ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ ที่ดินจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.5 และ ย.7) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก(ย.11 และ ย.13) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีแดง (บางซื่อ-รังสิต) รถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีเขียว (หมอชิต-คูคต) และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง) ปัจจบันมีการพัฒนาเกิดขึ้นรอบพื้นที่รวมถึงศูนย์คมนาคมบางซื่อ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ สถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อเปิดบริการครบทุกเส้นทาง ที่ล่าสุดรฟท. เปิดประมูลพื้นที่ โดยมี ยักษ์ใหญ่ ร่วมชิงพื้นที่ อย่างเซ็นทรัลพัฒนาจำกัด(มหาชน) หรือCPN และคิง เพาเวอร์ ฯลฯ

บริเวณที่ 3 ดอนเมือง-หลักสี่ ย่านดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงสูง ผังเมืองรวมกทม.ใหม่จึงเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.3) เป็นประเภทที่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.7) และพาณิชยกรรม (พ.5 ใหม่) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีแดง (บางซื่อ-รังสิต) สายสีเขียว (หมอชิต-คูคต) สายสีชมพู (แคราย-มีนบุรี) และรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมืองสุวรรณภูมิ-อู่ตะเภา)

บริเวณที่ 4 ลาดพร้าว-รามอินทรา

สร้างปรากฏการณ์เปลี่ยนแปลงสูง จากการมาของรถไฟฟ้า ดังนั้นกทม.จึงปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.3 และ ย.4) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6 และ ย.7) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีเหลือง (ลาดพร้าวสำโรง) สายสีชมพู (แคราย-มีนบุรี) และสายสีส้ม (ศูนย์

บริเวณที่ 5 ศรีนครินทร์

นับเป็นอีกทำเลที่มีการเปลี่ยนแปลงมีรถไฟฟ้าสายสีเหลืองพาดผ่าน สร้างความเจริญเกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนั้น จึงปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.4) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.7) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีเขียว (อ่อนนุช-เคหะฯ) สายสีแดง (ARL พญาไท-สุวรรณภูมิ) และสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง)

บราเวณที่ 6 มีนบุรี

พื้นที่ย่านชานเมืองกทม.แต่ วันนี้ พลิกโฉม เปลี่ยนแปลงไปมากการจราจรติดขัดมีโครงการที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นมาก จากรถไฟฟ้าดังนั้น ผังเมืองรวมกทม.ใหม่ จึง ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.3) เป็นประเภท ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6) และจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.10 ใหม่) และประเภทพาณิชยกรรม (พ.5 ใหม่) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีส้ม (ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยมีนบุรี) และสายสีชมพู (แคราย-มีนบุรี)

บริเวณที่ 7 ทางน้ำหลากฝั่งตะวันออก

โซนตะวันออกของกทม.เป็นอีกพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เพราะความเจริญแผ่ขยาย ส่งผลให้กทม.ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (ก.1) บางส่วน เป็นประเภทชนบทและเกษตรกรรม (ก.2 ใหม่) โดยการดำเนินการปรับปรุง ขยาย และขุดคลองระบายน้ำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันน้ำท่วมและการระบายน้ำตามแผนผังแสดงผังน้ำ

บริเวณที่ 8 ตลิ่งชัน-ทวีวัฒนา

อีกทำเล ที่เปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด รับการมาของระบบราง โดยมีการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (ก.2 เดิม) และประเภทชนบท และกษตรกรรม (ก.4 เดิม) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.1, ย.3 และ ย.4) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง(ย.6 และ ย.8) และพาณิชยกรรม (พ.4 ใหม่) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีแดง (บางซื่อตลิ่งชัน) สายสีน้ำเงิน (ท่าพระ-บางแค) และสายสีเขียว (ส่วนต่อขยายบางหว้า-ตลิ่งชัน)

บริเวณที่ 9 วงเวียนใหญ่-สุขสวัสดิ์

นับเป็นทำเลที่มีการเปลี่ยนแปลงมากเช่นกัน ทั้งจากความเจริญที่มาจากรถไฟฟ้า โครงข่ายถนน และการพัฒนาที่อยู่อาศัยทั้งแนวรายแนวสูง ส่งผลให้ มีการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจากประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.4) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.8) และจากที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.11) เป็นประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.13) รองรับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีเขียว (สนามกีฬาแห่งชาติ-บางหว้า) และสายสีม่วง (เตาปูน-ครุใน)

นี่คือย่านสำคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงจากการมาของรถไฟฟ้า แม้ผังเมืองรวมกทม.จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงล่าช้าแต่ก็ถือว่ามาถูกจังหวะเวลา แน่นอน !!!

ที่มา: นสพ.ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 29 มิ.ย. - 1 ก.ค. 2566


กทม.สานต่อ 8 เมกะโปรเจ็กต์ 9.9 หมื่นล้าน
Source - ฐานเศรษฐกิจ
Wednesday, June 28, 2023 05:28

ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร (กทม.) เริ่มมีการพัฒนาเมืองเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภายหลังจาก "ชัชชาติ สิทธิพันธุ์" ได้รับตำแหน่งเข้ามาเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.)จากการเลือกตั้งของประชาชนแบบแลนสไลด์ในช่วงที่ผ่านมา

ล่าสุดภายใต้การบริหารงานของ "ชัชชาติ สิทธิพันธุ์"ได้รับตำแหน่งเข้ามาเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) ขณะนี้กทม.ได้ดำเนินการตามนโยบายแล้ว 211 นโยบาย จากเดิมที่มี นโยบายที่หาเสียงอยู่ที่ 216 นโยบาย เพิ่มขึ้นเป็น 226 นโยบาย ซึ่งยังมี 11 นโยบายที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ส่วนอีก 4 นโยบายที่ยุติการดำเนินการ

ในปี 2566 กทม.ได้จัดสรรงบประมาณกว่า 5,024 ล้านบาท เพื่อดำเนินการสู่โครงการเส้น เลือดฝอย แบ่งเป็น ปรับปรุงถนน ตรอก ซอย และสิ่งสาธารณ ประโยชน์ 4,435 ล้านบาท ขุดลอกคูคลอง 437 ล้านบาท ล้างทำความสะอาดท่อ 152 ล้านบาท นอกจากนี้ยังมีการจัดสรรงบประมาณ 200,000 บาทต่อชุมชนและจัดทำงบประมาณแบบ Zero Base Budgeting มีมูลค่างบประมาณมากกว่า 1,000 ล้านบาท

จากงบประมาณเฉลี่ยของ กทม. ในปี 2562-2566 แบ่งเป็น รายจ่ายประจำพื้นฐาน 46,847 ล้านบาท คิดเป็น 59% รายจ่ายประจำและรายจ่ายผูกพัน คิดเป็น 77% ของงบประมาณกทม. ประจำปี โครงการงบลงทุนนโยบายผู้บริหาร 18,555 ล้านบาท รายการผูกพัน 14,016 ล้านบาท คิดเป็น 18% คาดว่าในปี 67 จะมีรายการผูกพัน 18,959 ล้านบาท

นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) กล่าวว่า ปัจจุบันกทม.ได้เตรียมหารือรัฐบาลชุดใหม่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (Monorail) สายสีเทา ช่วงวัชรพลทองหล่อ ระยะทาง 16.3 กิโล เมตร (กม.) วงเงิน 29,130 ล้านบาท และโครงการรถไฟฟ้ารางคู่ขนาดเบา (LRT-Light Rail Transit) สายสีเงิน ช่วงบางนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ วงเงิน 48,380 ล้านบาท เบื้องต้นทั้ง 2 เส้นทางดังกล่าว มีแผนศึกษาที่จะดำเนินการให้เอกชนร่วมลงทุนในรูปแบบ PPP

"กทม.จะเสนอรัฐบาลใหม่เป็นผู้ลงทุนทางด้านนี้ เนื่อง จากผลการศึกษาพบว่า กทม.ต้องลงทุนด้านงานโยธาจำนวนมากประมาณ 60,000 ล้านบาท หากต้องนำงบประมาณ จำนวน 60,000 ล้านบาท มาลงทุน อาจจะกระทบกับภารกิจด้านอื่นของ กทม.ได้ โดยหน่วยงานที่เหมาะสมเข้ามารับผิดชอบดูแล คือ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)"
ขณะที่โครงการรถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีเขียว ช่วงบางหว้า - ตลิ่งชัน จากการศึกษาพบว่าโครงการฯ จะมีประชาชนมาใช้บริการ ประมาณ 35,000 คนต่อวัน ซึ่งยังไม่มาก เบื้องต้นจะหารือร่วมกับกรมทางหลวงชนบท (ทช.) เจ้าของเขตทางที่จะดำเนินการก่อสร้างต่อไป

นอกจากนี้กทม.มีแผนทบทวนรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ (BRT) โดยสิทธิเดินรถของบริษัทกรุงเทพธนาคม จำกัด (เคที) ในโครงการฯจะสิ้นสุดสัญญาวันที่ 31 สิงหาคม 2566 เบื้องต้นกทม.จะมีการปรับรูปแบบสถานี, เพิ่มความถี่การให้บริการบางช่วง, ปรับเป็นช่องจราจรร่วม, ปรับเป็นรถพลังงานไฟฟ้า ฯลฯ เพื่อลดต้นทุนและลดค่าบริหารจัดการ

"ที่ผ่านมาผู้โดยสารมีไม่มาก ขณะนี้ได้มอบหมายสำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) พิจารณา หากจะดำเนินการต่อไป ต้องเพิ่มจำนวนรถในราคาไม่แพงมากนัก ทั้งนี้อาจจะพิจารณาให้เป็นรถโดยสารปกติ แต่มีการเพิ่มป้ายรถเมล์บริเวณสี่แยก เพื่อให้ผู้โดยสารมาใช้บริการมากขึ้น"
ส่วนการดำเนินการทบทวนรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร- ราชพฤกษ์ (BRT) ในครั้งนี้ ทาง กทม.จะจ้างเดินรถเพื่อไม่ให้ กระทบต่อประชาชน โดยจะเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการลดความถี่บางช่วงของเส้นทาง เพื่อเพิ่มความถี่ในบางช่วงแทน คาดว่า จะเริ่มดำเนินการเดินรถรูปแบบใหม่ตามผลการศึกษาภายใน เดือนสิงหาคม 2567

รายงานข่าวจากกรุงเทพ มหานคร (กทม.) กล่าวว่า ขณะนี้กทม.ได้ดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายท่าเทียบเรือคลองแสนแสบ จำนวน 4 ท่า และก่อสร้างท่าเรือวัดป่าเชิงเลนคลองชักพระ จำนวน 1 ท่า คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี 2567 ทั้งนี้ กทม.ได้รับจัดสรรงบประมาณปี 2567 เพื่อพัฒนาและก่อสร้างท่าเรืออีก 7 แห่ง ประกอบด้วย 1. ท่าเรือราชินี 1 ท่า 2. ท่าเรือ ม.นวมินทร์ฯ 1 ท่า 3. ท่าเรือคลองพระขโนงคลองประเวศบุรีรมย์ 3 ท่า 4. ส่วนต่อขยายท่าเรือคลองแสนแสบ 2 ท่า นอกจากนี้ยังมีแผนเตรียมปรับ ปรุงท่าเรืออโศก เนื่องจากในปัจจุบันมีปริมาณประชาชนใช้บริการหนาแน่น ประมาณ 4,200 คนต่อวัน โดยตั้งเป้าจะพัฒนา ให้แล้วเสร็จภายในปี 2568

ปัจจุบันกทม.มีการให้บริการเรือไฟฟ้า ที่ช่วยลดต้นทุน 244 บาทต่อคน จากเดิมอยู่ที่ 401 บาทต่อคน ทั้งหมด 2 เส้นทาง ประกอบด้วย 1. เรือไฟฟ้าคลองผดุงกรุงเกษม มีผู้โดยสารเฉลี่ย 390 คนต่อวัน 2. เรือไฟฟ้าคลลองแสนแสบ ช่วงศรีบุญเรืองมีนบุรี มีผู้โดยสารเฉลี่ย 370 คนต่อวัน

"กทม.เตรียมพิจารณาเพิ่มรูปแบบการเดินเรือ เพิ่มเชื่อมต่อการเดินทางให้แก่ประชาชน เบื้องต้นกทม.อยู่ระหว่างการศึกษาการเดินเรือรูปแบบใหม่ โดยเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาเสนอแนวเส้นทางและระบบการบริหารจัดการเรืออย่างมีประสิทธิภาพในคลองที่สามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า, รถโดยสาร ฯลฯ รวมทั้งลักษณะทางกายภาพ คลอง และสาธารณูปโภค เช่น สะพาน, เขื่อนกันดิน และความคุ้มค่า"
สำหรับแผนผลักดันโครงการขนาดใหญ่ด้านคมนาคมของกทม.จำนวน 8 โครงการ รวมวงเงิน 99,932 ล้านบาท แบ่งเป็น โครงการขนาดใหญ่ที่สานต่อ จำนวน 6 โครงการ ประกอบด้วย 1. รถไฟฟ้าสายส่วนต่อขยายสีเขียว ช่วงบางหว้า-ตลิ่งชัน วงเงิน 14,804 ล้านบาท 2. รถไฟฟ้าสายสีเงิน ช่วงบางนา-สุวรรณภูมิ วงเงิน 48,380 ล้านบาท 3. โครง การรถไฟฟ้าสายสีเทา ช่วงวัชรพลทองหล่อ วงเงิน 29,130 ล้านบาท 4. โครงการก่อสร้างทางยกระดับถนนอ่อนนุช-ลาดกระบัง วงเงิน 1,664 ล้านบาท 5. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแยกเกียกกายช่วงที่ 2 วงเงิน 925 ล้านบาท 6. โครงการก่อสร้างปรับปรุงถนนรามคำแหง 24 และหัวหมาก วงเงิน 729 ล้านบาท และโครงการขนาดใหญ่ด้านคมนาคมที่เริ่มดำเนินการใหม่ จำนวน 2 โครงการ ประกอบด้วย 1. โครงการต่อเชื่อมพุทธมณฑลสาย 3 กับ 4 วงเงิน 1,300 ล้านบาท 2. โครงการก่อสร้างถนนเชื่อมถนนรัตนโกสินทร์สมโภชและถนนนิมิตใหม่ วงเงิน 3,000 ล้านบาท

คงต้องจับตาว่าโครงการขนาดใหญ่ของกทม.จะเดินไป ตามแผนหรือไม่

ที่มา: นสพ.ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 29 มิ.ย. - 1 ก.ค. 2566
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42708
Location: NECTEC

PostPosted: 04/07/2023 12:07 am    Post subject: Reply with quote

ให้สิ้นสงสัย…“บัตร EMV” คืออะไร???
ตัวช่วยลดค่าโดยสารรถไฟฟ้า “ตั๋วร่วม” ยังไม่เกิด
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/818333496410553
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42708
Location: NECTEC

PostPosted: 06/07/2023 12:20 pm    Post subject: Reply with quote

Mongwin wrote:
'คมนาคม'เร่งM-Map2
Source - ไทยโพสต์
Wednesday, June 28, 2023 05:17

ปทุมวัน * นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เปิดเผยภายหลังเป็นประธานเปิดการประชุมสัมมนา เพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง และการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่ 2 หรือ M-Map2 ว่า ที่ผ่านมาเคยมีการศึกษาแผนฯ ระยะที่ 1 หรือ MMap1 พบว่าปัจจุบันมีรถไฟ ฟ้าจำนวน 12 เส้นทางที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ซึ่งตาม แผนจะครบกำหนดภายในปี 2572 ทำให้กรมฯ มีแผนเร่งดำเนินการศึกษาโครงการฯ ระยะที่ 2 หรือ M-Map2 เพื่อให้โครงการมีความต่อเนื่อง

สำหรับการศึกษาโครงการฯ คาดได้ข้อสรุปเกี่ยวกับแนวเส้นทางรถไฟฟ้า, ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการเงิน ฯลฯ ในวันที่ 24 ก.ค.2566 หลังจากนั้นกรมฯ จะเสนอต่อคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) และเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ พิจารณาเห็นชอบเพื่อออกแผนแม่บทฯ (M-Map2) ระยะเวลา 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 2573-2592 ปัจจุบันโครงการได้ออกแบบแบบจำลองคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางแล้วเสร็จ โดยนำมาดำเนินการ วางแผน M-Map2 เพื่อวิเคราะห์และกำหนดแนวเส้นทางที่มีความเป็นไปได้ เพื่อนำมาจัดลำดับความสำคัญ และดำเนินการ ศึกษาในด้านวิศวกรรม การลงทุน และสิ่งแวดล้อมต่อไป.

ที่มา: นสพ.ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 28 มิ.ย. 2566


Mongwin wrote:
Wisarut wrote:
กรมการขนส่งทางราง จัดประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางและการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
(พื้นที่ต่อเนื่อง) ระยะที่ 2 หรือ M-Map2
สำหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมสัมมนาในระบบออนไลน์ สามารถเข้ารับฟังและแสดงความคิดเห็นได้ตามลิงก์ด้านล่างนี้ :
Join Zoom Meeting
https://zoom.us/j/6143146915...
Meeting ID: 614 314 6915
Passcode: 123456
https://www.facebook.com/DRT.OfficialFanpage/posts/570685901922543

'กรมราง'ร่างโรดแมปรถไฟฟ้า เขย่า 29 โครงข่ายใยแมงมุม
Source - กรุงเทพธุรกิจ
Wednesday, June 28, 2023 04:10
วรรณิกา จิตตนรากร


เปิดแผนแม่บทรถไฟฟ้า 34 สายใหม่กทม.-ปริมณฑล
*มาสเตอร์แพลน26ปีM-Map2กรมรางดันสร้างต่อ
*ปี2592เพิ่มโครงข่าย 211กม.ปัจจุบันเป็น 553กม.
*ปัก12เส้นทางจำเป็นเร่งด่วนต่อขยายสีแดง 3สาย
*รื้อหัวลำโพง-มหาชัยเป็น”วงเวียนใหญ่-บางบอน”
Note: ข้อที่น่าผิดหวังที่สุดก็ไม่พ้นความหัวดื้อหัวรั้นของคนคลองสานนี่แหละที่ทำให้สายสีแดงจากหัวลำโพงไปมหาชัยโดนกุด
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/815038066740096

กรมการขนส่งทางรางเดินหน้าเร่งพัฒนาแผนแม่บทรถไฟฟ้าฉบับใหม่ M-MAP 2
https://www.facebook.com/watch?v=943158033613748

กรมรางเร่ง M-MAP 2 ลุยแผนรถไฟฟ้า 29 เส้นทาง ชง ครม.ใหม่ เติมเต็มโครงข่าย
โดย: ผู้จัดการออนไลน์
เผยแพร่: วันอังคาร ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 17:48 น.
ปรับปรุง: วันอังคาร ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 17:48 น.

Click on the image for full size


กรมรางเร่งสรุปแผน M-MAP 2 ใน ก.ค.นี้ วางโครงข่าย 29 เส้นทาง ทั้งสานต่อจากแผนเดิม และผุดเส้นทางใหม่เติมเต็มโครงข่ายและมาตรการอุดหนุนค่าโดยสาร และภาษี เผยพร้อมดันรถไฟสีแดง 3 สายชงรัฐบาลใหม่ ชี้จำเป็นเร่งด่วน ส่วนช่วง Missing Link ออกแบบศึกษาใหม่ ล่าช้า 4-5 ปี

วันที่ 27 มิ.ย. 66 นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เป็นประธานเปิดการประชุมสัมมนา เพื่อประชาสัมพันธ์และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3 “โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง และการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (พื้นที่ต่อเนื่อง) ระยะที่ 2” หรือ M-MAP 2 โดยมีการนำเสนอความคืบหน้าการดำเนินงาน M-MAP 2 และการพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง โดยจะมีการสัมมนาเป็นเวลา 3 วัน ระหว่างวันที่ 27-29 มิถุนายน 2566 โดยวันแรกเป็นกลุ่ม หน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ และสื่อมวลชน วันที่ 2 เป็นกลุ่มเอกชน ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง วันที่ 3 เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษา และในวันที่ 24 ก.ค. 2566 จะจัดสัมมนา เพื่อนำเสนอผลการศึกษาอีกครั้งและสรุปการศึกษา และเสนอคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) และคณะรัฐมนตรี จึงจะประกาศเป็นแผนแม่บทต่อไป

นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง กล่าวว่า ปัจจุบันโครงการได้ออกแบบแบบจำลอง คาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง (Railway Demand Forecast) แล้วเสร็จ และได้นำมาดำเนินการวางแผน M-MAP 2 โดยการวิเคราะห์และกำหนดแนวเส้นทางที่มีความเป็นไปได้ให้ตอบโจทย์นโยบายการพัฒนารถไฟฟ้าใน 5 ด้าน ดังนี้
1. เพื่อบรรเทาความหนาแน่นระบบราง (Capacity)
2. เพื่อเพิ่มความสามารถในการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนทางรางในพื้นที่ปิดล้อมขนาดใหญ่และรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต (Coverage)
3. เพื่อพัฒนาโครงข่ายรวมและการกระจายการเดินทางเพิ่มเติม (Connectivity)
4. ปรับปรุงรูปแบบค่าโดยสารให้เหมาะสมและเป็นธรรมมากขึ้น (Affordable and Equitable)
5. เพื่อความสอดคล้องและเชื่อมต่อกับการขนส่งรูปแบบอื่น (Intermodal)



นายพิเชฐกล่าวว่า รถไฟฟ้าตามแผนแม่บท M-MAP เดิมมีโครงข่ายรวม 553.41 กม. ปัจจุบันให้บริการแล้ว 242.34 กม. อยู่ระหว่างก่อสร้าง 105.40 กม. ขณะที่การพัฒนา M-MAP จะหมดอายุในปี 2572 ดังนั้นจึงต้องศึกษาเพื่อวางแผน M-MAP 2 ที่จะใช้ในระยะ 20 ปีต่อไป (ปี พ.ศ. 2573- ปี พ.ศ. 2592) เพื่อให้การขับเคลื่อนต่อเนื่อง ซึ่งการจัดทำ วางแผน M-MAP 2 ได้มีการจัด Focus Group รับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่จังหวัดปริมณฑล ประกอบไปด้วย จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นนทบุรี และนครปฐม และนำข้อมูลไปดำเนินการศึกษาเพิ่มเติมร่วมกับแผน M-MAP 2 Blueprint ที่ทาง JICA เคยศึกษาไว้เพื่อตอบโจทย์นโยบายการพัฒนาให้ได้แนวเส้นทางระบบรางที่เป็นไปได้ทั้งหมด (Project Long List) และนำมาดำเนินการคัดกรอง ทั้งด้านกายภาพและจำนวนผู้โดยสาร เพื่อให้ได้แนวเส้นทางระบบรางที่เลือก (Project Short List) แล้วนำมาจัดลำดับความสำคัญ และดำเนินการศึกษา ในด้านวิศวกรรม การลงทุน และสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นต่อไป



@พร้อมชงรัฐบาลใหม่ เคาะสายสีแดงต่อขยาย 3 เส้นทาง แบบ-EIA พร้อมก่อสร้าง

ส่วนโครงการที่อยู่ใน M-MAP เดิมที่ยังไม่ได้ก่อสร้างแต่มีความจำเป็นเร่งด่วน ซึ่งโครงการได้ศึกษาออกแบบเรียบร้อย และ EIA ได้รับอนุมัติแล้ว กรมรางมีความพร้อมที่จะนำเสนอต่อรัฐบาลใหม่พิจารณา ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีแดงต่อขยาย 3 เส้นทาง ด้านเหนือ ช่วงรังสิต-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ระยะทาง 8.84 กม. วงเงิน 6,448.69 ล้านบาท, สายสีแดง ด้านตะวันตก ช่วงตลิ่งชัน-ศาลายา ระยะทาง 14.80 กม. วงเงิน 10,670.27 ล้านบาท และช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช ระยะทาง 5.7 กม. วงเงิน 4,616 ล้านบาท เส้นทางที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อรองรับปริมาณการเดินทางจำนวนมาก เนื่องจากเป็นศูนย์ในด้านโรงพยาบาล และสถาบันการศึกษา

@สีแดง Missing Link (บางซื่อ-พญาไท-) ย้ายสถานี เริ่มต้นศึกษาใหม่ ล่าช้า 4-5 ปี
ส่วนสีแดง ด้านตะวันออก ช่วงบางซื่อ-พญาไท-มักกะสัน-หัวหมาก-หัวลำโพง (Missing Link) ระยะทาง 25.9 กม. วงเงินลงทุน 44,157.76 ล้านบาท เนื่องจากมีการปรับแบบสถานีราชวิถี และย้ายตำแหน่งสถานี เพราะบริเวณใกล้เคียงมีโรงพยาบาลรามาธิบดี ซึ่งมีส่วนที่ต้องเวนคืน ทำให้ต้องศึกษาออกแบบใหม่ และศึกษา EIA ใหม่ หรือกลับไปเริ่มต้นทำโครงการใหม่ ใช้เวลาอีกประมาณ 4-5 ปี

@สีแดง "หัวลำโพง-วงเวียนใหญ่-มหาชัย" ติดปมเวนคืน-ค่าลงทุนสูง

สายสีแดง ด้านใต้ ช่วงหัวลำโพง-วงเวียนใหญ่-มหาชัย ยังมีประเด็นผลกระทบด้านเวนคืนและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะช่วงหัวลำโพง-วงเวียนใหญ่ ผ่านพื้นที่ชุมชนหนาแน่น แผนเดิมเป็นทางยกระดับ มีแนวคิดปรับเป็นใต้ดินแต่ค่าก่อสร้างสูงมากกว่า 3 เท่า ไม่คุ้มค่า จึงต้องประเมินความเหมาะสมและช่วงเวลาในการก่อสร้างที่จะคุ้มค่า ซึ่งอาจจะก่อสร้างในช่วงที่ปัญหาน้อย ก่อน เช่น วงเวียนใหญ่-บางบอน เป็นต้น

โดยการเสนอแนะและคัดกรองเส้นทาง แผน M-MAP 2 มีการจัดลำดับความสำคัญโครงการ 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม A1 โครงการมีความจำเป็น และเร่งด่วน กลุ่ม A2 คือ โครงการที่มีความจำเป็น แต่ไม่เร่งด่วน ก่อสร้างเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม กลุ่ม B โครงการแนะนำ คือเส้นทางมีศักยภาพ แต่เวลายังไม่เหมาะสมที่จะสร้าง เป็นการกำหนดเส้นทางเพื่อวางแผนร่วมกับการพัฒนาเมืองรองรับอนาคต

ซึ่งการจัดลำดับความสำคัญ ประกอบด้วย นโยบายด้านการวางแผน ความพร้อมของโครงการ ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ การเงิน และสังคม และ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม



@เปิดผัง รถไฟฟ้า M-MAP 2 จำนวน 29 เส้นทาง

เบื้องต้นโครงการใน M-MAP 2 มีจำนวน 29 เส้นทาง (Project Long List) ประกอบด้วย
1. เส้นทางใน M-MAP 1 ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ (M) จำนวน 8 เส้นทาง (12 ช่วง) คือ
M1 สายสีแดง ช่วงบางซื่อ-พญาไท, ช่วงตลิ่งชัน-ศาลายา, ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช
M2 สายสีแดง ช่วงบางซื่อ-หัวลำโพง, ช่วงหัวลำโพง-วงเวียนใหญ่, ช่วงวงเวียนใหญ่-บางบอน, ช่วงบางบอน-มหาชัย, ช่วงมหาชัย-แม่กลอง, ช่วง รังสิต-ม.ธรรมศาสตร์, ช่วงม.ธรรมศาสตร์-นวนคร

M3 สายสีฟ้า ช่วงดินแดง-สาทร,
M4 สายสีเทา ช่วงลำลูกกา-ท่าพระ,
M5 สายสีน้ำตาล ช่วงแคราย-บึงกุ่ม-บางกะปิ,
M6 สายสีเขียว ช่วงคูคต-วงแหวนรอบนอก, ช่วงเคหะ-ตำหรุ, ช่วงตำหรุ-จักรีนฤบดินทร์-คลองด่าน,
M7 สายสีเขียว ช่วงสนามกีฬาแห่งชาติ-ยศเส,
M8 สายสีน้ำเงิน ช่วง บางแค-พุทธมณฑลสาย 4

เส้นทางใหม่ 13 เส้นทาง (N) คือ
N1 รถไฟฟ้าสายสีเงิน บางนา-สุวรรณภูมิ,
N2 รถไฟฟ้าสายบางบำหรุ-ดินแดง-หลักสี่,
N3 รถไฟฟ้าสายรังสิต-ธัญบุรี-คลอง 6-ธรรมศาสตร์,
N4 รถไฟฟ้าสายรังสิต-ปทุมธานี,
N5 รถไฟฟ้าสายคลอง 3-คูคต,
N6 รถไฟฟ้าสายสุวรรณภูมิ-แพรกษา-สุขุมวิท,
N7 รถไฟฟ้าสายดอนเมือง-ศรีสมาน,
N8 รถไฟฟ้าสายพระโขนง-ศรีนครินทร์,
N9 รถไฟฟ้าสายเทพารักษ์-ราษฎร์บูรณะ,
N10 รถไฟฟ้าสายศาลายา-มหาชัย,
N11 รถไฟฟ้าสายเลียบคลองประปา (บางซื่อ-ปทุมธานี),
N12 รถไฟฟ้าสายศรีนครินทร์-บางบ่อ,
N13 รถไฟฟ้าสายคลอง 6-องครักษ์

และเส้นทางต่อขยายเดิม 8 เส้นทาง (E) คือ
E1 รถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยาย (สีลม) บางหว้า-รัตนาธิเบศร์-แยกปากเกร็ด,
E2 รถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย มีนบุรี-ลาดกระบัง,
E3 รถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย เมืองทองฯ-ปทุมธานี,
E4 รถไฟฟ้าสายสีม่วงส่วนต่อขยาย บางใหญ่-บางบัวทอง,
E5 รถไฟฟ้าสีทองส่วนต่อขยาย (คลองสาน-ศิริราช),
E6 รถไฟฟ้าสายสีเงินส่วนต่อขยายสุวรรณภูมิ-บางบ่อ,
E7 รถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีแดง บางซื่อ-พระราม 3,
E8 รถไฟฟ้าสายสีเหลืองส่วนต่อขยาย ลาดพร้าว-รัชโยธิน-บางอ้อ-ท่าน้ำนนท์


นอกจากนี้ยังมีการทำแบบจำลองคาดการณ์ความต้องการเดินทาง พร้อมแนวคิดในการส่งเสริมการใช้ระบบราง เพิ่มความสะดวกในการเข้าถึง เช่น การสนับสนุนค่าใช้จ่ายแก่เจ้าหน้าที่รัฐและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งกรมรางนำเสนอแผนไปยังกระทรวงการคลังแล้ว, มาตรการด้านภาษีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green Tax/Carbon Tax) เพื่อสนับสนุนภาคเอกชนและนิติบุคคล, การอุดหนุนค่าโดยสารแก่ประชาชน

“ในการทำแผนแม่บทรถไฟฟ้าที่ผ่านมาขาดข้อมูลเรื่องการพัฒนาโปรเจกต์ในแต่ละพื้นที่ ซึ่งเป็นโครงการใหญ่ ทั้งศูนย์การค้า ศูนย์ราชการ ที่จะเกิดการเดินทางของประชาชนจำนวนมาก จึงขอความร่วมมือหน่วยราชการ ท้องถิ่น และภาคเอกชน เพื่อนำมาวางแผนใน M-Map 2 ไม่ใช่มารู้เมื่อเปิดโปรเจกต์แล้วบอกว่าอยากได้ระบบรางเข้าไป แบบนี้ไม่ทันกัน เพราะโครงการรถไฟฟ้าต้องใช้เวลา ศึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง มีเรื่องเวนคืนและ EIA อีก ต้องใช้เวลาหลายปี”
https://www.youtube.com/watch?v=uPjCRReIJqE
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42708
Location: NECTEC

PostPosted: 06/07/2023 2:19 pm    Post subject: Reply with quote

สแกนรถไฟฟ้าสายใหม่ 29 เส้นทาง ปลุกแผน M-MAP2

ฐานเศรษฐกิจ
05 กรกฎาคม 2566

“กรมขนส่งทางราง” สานต่อ แผนแม่บท M-MAP2 ดันรถไฟฟ้าสายใหม่ 29 เส้นทาง คาดได้ข้อสรุป 24 ก.ค.นี้ เตรียมชงครม.ชุดใหม่ ไฟเขียว ฟากประชาชน 6 จังหวัด แนะเพิ่ม 8 เส้นทางรถไฟฟ้า หวังเดินทางสะดวกเพิ่มขึ้น
ที่ผ่านมากระทรวงคมนาคมได้วางแผนแม่บทโครงการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางฯ ระยะที่ 1 (M-MAP 1) ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อปี 2553 ทั้งนี้ตามแผนฯโครงข่ายเสร็จสมบูรณ์ในปี 2572

ขณะเดียวกันมติคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) ครั้งที่ 1/2559 ได้มอบหมายให้สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ไปศึกษาและพิจารณาบรรจุโครงการระบบขนส่งมวลชนระบบรองของกรุงเทพมหานครในระยะที่ 2 (M-Map 2) โดยเป็นการปรับและขยายแนวเส้นทางใน M-Map ระยะที่ 1

โครงข่ายรถไฟฟ้าในปัจจุบันตามแผน M-Map เดิม มีระยะทางรวมทั้งโครงข่าย 553.41 กิโลเมตร (กม.) ขณะนี้มีการเปิดให้บริการแล้ว ระยะทาง 211.94 กิโลเมตร (กม.) และอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ระยะทาง 135.80 กิโลเมตร (กม.)

ล่าสุด “กรมการขนส่งทางราง” เร่งดำเนินการศึกษาโครงการฯ ระยะที่ 2 (M-Map 2) เพื่อให้โครงการสามารถเดินหน้าต่อได้โดยไม่มีสะดุด เนื่องจากโครงการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางฯ ระยะที่ 1 (M-Map 1) พบว่าปัจจุบันมีรถไฟฟ้า จำนวน 12 เส้นทางที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ซึ่งกรมฯได้วางไทม์ไลน์การศึกษาโครงการฯ ที่คาดว่าจะได้ข้อสรุปภายในวันที่ 24 กรกฎาคมนี้ หลังจากนั้นกรมฯจะเสนอต่อคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) และเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ พิจารณาเห็นชอบเพื่อออกแผนแม่บทฯ (M-MAP2) ระยะเวลา 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 2573-2592


ทั้งนี้การพัฒนาแนวเส้นทางรถไฟฟ้า M-Map 2 นั้น มีเป้าหมายที่จะบูรณาการร่วมกับระบบขนส่งมวลชนสาธารณะทุกประเภท (Feeder) โดยพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟ้า (TOD) อย่างเหมาะสมให้สอดคล้องกับการเติบโตของเมืองและเพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชนในอนาคต

นอกจากนี้เมื่อวันที่ 6-12 มิถุนายน 2566 จากการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 6 ในพื้นที่จังหวัด ประกอบด้วย สมุทรปราการ, นนทบุรี, ปทุมธานี นครปฐม, สมุทรสาคร, พบว่ามีข้อเสนอแนะแนวเส้นทางรถไฟฟ้าสายใหม่เพิ่มเติม ดังนี้ 1.เส้นทางเคหะบางปู – จักรีนฤบดินทร์ – คลองด่าน 2.เส้นทางลาดกระบัง – ตำหรุ 3. เส้นทางศรีนครินทร์ – บางบ่อ 4. เส้นทางครุใน – ปากน้ำ 5. เส้นทางคูคด – รังสิต 6.เส้นทางรังสิต – นวนคร 7.เส้นทางรังสิต – องค์รักษ์ 8.เส้นทางลาวพร้าว – ท่าน้ำนนท์


สำหรับโครงการใน M-MAP 2 มีจำนวน 29 เส้นทาง (Project Long List) ประกอบด้วย
เส้นทางใน M-MAP 1 ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ (M) จำนวน 8 เส้นทาง (12 ช่วง) ดังนี้
M1 สายสีแดง ประกอบด้วย ช่วงบางซื่อ-พญาไท, ช่วงตลิ่งชัน-ศาลายา, ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช,
M2 สายสีแดง ประกอบด้วย ช่วงบางซื่อ-หัวลำโพง, ช่วงหัวลำโพง-วงเวียนใหญ่, ช่วงวงเวียนใหญ่-บางบอน, ช่วงบางบอน-มหาชัย, ช่วงมหาชัย-แม่กลอง, ช่วง รังสิต-ม.ธรรมศาสตร์, ช่วงม.ธรรมศาสตร์-นวนคร

M3 สายสีฟ้า ช่วงดินแดง-สาทร,
M4 สายสีเทา ช่วงลำลูกกา-ท่าพระ,
M5 สายสีน้ำตาล ช่วงแคราย-บึงกุ่ม-บางกะปิ,
M6 สายสีเขียว ประกอบด้วย ช่วงคูคต-วงแหวนรอบนอก, ช่วงเคหะ-ตำหรุ, ช่วงตำหรุ-จักรีนฤบดินทร์-คลองด่าน,
M7 สายสีเขียว ช่วงสนามกีฬาแห่งชาติ-ยศเส, M8 สายสีน้ำเงิน ช่วง บางแค-พุทธมณฑลสาย 4

ขณะที่เส้นทางใหม่ 13 เส้นทาง (N) ประกอบด้วย
N1 รถไฟฟ้าสายสีเงิน บางนา-สุวรรณภูมิ,
N2 รถไฟฟ้าสายบางบำหรุ-ดินแดง-หลักสี่,
N3 รถไฟฟ้าสายรังสิต-ธัญบุรี-คลอง 6-ธรรมศาสตร์,
N4 รถไฟฟ้าสายรังสิต-ปทุมธานี,
N5 รถไฟฟ้าสายคลอง 3-คูคต,
N6 รถไฟฟ้าสายสุวรรณภูมิ-แพรกษา-สุขุมวิท,
N7 รถไฟฟ้าสายดอนเมือง-ศรีสมาน,
N8 รถไฟฟ้าสายพระโขนง-ศรีนครินทร์,
N9 รถไฟฟ้าสายเทพารักษ์-ราษฎร์บูรณะ,
N10 รถไฟฟ้าสายศาลายา-มหาชัย,
N11 รถไฟฟ้าสายเลียบคลองประปา (บางซื่อ-ปทุมธานี),
N12 รถไฟฟ้าสายศรีนครินทร์-บางบ่อ,
N13 รถไฟฟ้าสายคลอง 6-องครักษ์

ส่วนเส้นทางต่อขยายเดิม 8 เส้นทาง (E) คือ
E1 รถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยาย (สีลม) บางหว้า-รัตนาธิเบศร์-แยกปากเกร็ด,
E2 รถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย มีนบุรี-ลาดกระบัง,
E3 รถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย เมืองทองฯ-ปทุมธานี,
E4 รถไฟฟ้าสายสีม่วงส่วนต่อขยาย บางใหญ่-บางบัวทอง,
E5 รถไฟฟ้าสีทองส่วนต่อขยาย (คลองสาน-ศิริราช),
E6 รถไฟฟ้าสายสีเงินส่วนต่อขยายสุวรรณภูมิ-บางบ่อ,
E7 รถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีแดง บางซื่อ-พระราม 3, (สายแม่น้ำ)
E8 รถไฟฟ้าสายสีเหลืองส่วนต่อขยาย ลาดพร้าว-รัชโยธิน-บางอ้อ-ท่าน้ำนนท์

หากกรมการขนส่งทางรางสามารถผลักดันโครงการ M-Map2 ได้ตามแผนที่วางไว้ จะช่วยให้ประชาชนสามารถเดินทางผ่านระบบขนส่งสาธารณะได้สะดวกมากขึ้น ลดการใช้ยานพาหนะส่วนตัว อีกทั้งจะช่วยแก้ปัญหาจราจรติดขัดบนท้องถนนได้เป็นอย่างดี




Wisarut wrote:
Mongwin wrote:
'คมนาคม'เร่งM-Map2
Source - ไทยโพสต์
Wednesday, June 28, 2023 05:17

ปทุมวัน * นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เปิดเผยภายหลังเป็นประธานเปิดการประชุมสัมมนา เพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง และการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่ 2 หรือ M-Map2 ว่า ที่ผ่านมาเคยมีการศึกษาแผนฯ ระยะที่ 1 หรือ MMap1 พบว่าปัจจุบันมีรถไฟ ฟ้าจำนวน 12 เส้นทางที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ซึ่งตาม แผนจะครบกำหนดภายในปี 2572 ทำให้กรมฯ มีแผนเร่งดำเนินการศึกษาโครงการฯ ระยะที่ 2 หรือ M-Map2 เพื่อให้โครงการมีความต่อเนื่อง

สำหรับการศึกษาโครงการฯ คาดได้ข้อสรุปเกี่ยวกับแนวเส้นทางรถไฟฟ้า, ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการเงิน ฯลฯ ในวันที่ 24 ก.ค.2566 หลังจากนั้นกรมฯ จะเสนอต่อคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) และเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่ พิจารณาเห็นชอบเพื่อออกแผนแม่บทฯ (M-Map2) ระยะเวลา 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 2573-2592 ปัจจุบันโครงการได้ออกแบบแบบจำลองคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางแล้วเสร็จ โดยนำมาดำเนินการ วางแผน M-Map2 เพื่อวิเคราะห์และกำหนดแนวเส้นทางที่มีความเป็นไปได้ เพื่อนำมาจัดลำดับความสำคัญ และดำเนินการ ศึกษาในด้านวิศวกรรม การลงทุน และสิ่งแวดล้อมต่อไป.

ที่มา: นสพ.ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 28 มิ.ย. 2566


Mongwin wrote:
Wisarut wrote:
กรมการขนส่งทางราง จัดประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางและการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
(พื้นที่ต่อเนื่อง) ระยะที่ 2 หรือ M-Map2
สำหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมสัมมนาในระบบออนไลน์ สามารถเข้ารับฟังและแสดงความคิดเห็นได้ตามลิงก์ด้านล่างนี้ :
Join Zoom Meeting
https://zoom.us/j/6143146915...
Meeting ID: 614 314 6915
Passcode: 123456
https://www.facebook.com/DRT.OfficialFanpage/posts/570685901922543

'กรมราง'ร่างโรดแมปรถไฟฟ้า เขย่า 29 โครงข่ายใยแมงมุม
Source - กรุงเทพธุรกิจ
Wednesday, June 28, 2023 04:10
วรรณิกา จิตตนรากร


เปิดแผนแม่บทรถไฟฟ้า 34 สายใหม่กทม.-ปริมณฑล
*มาสเตอร์แพลน26ปีM-Map2กรมรางดันสร้างต่อ
*ปี2592เพิ่มโครงข่าย 211กม.ปัจจุบันเป็น 553กม.
*ปัก12เส้นทางจำเป็นเร่งด่วนต่อขยายสีแดง 3สาย
*รื้อหัวลำโพง-มหาชัยเป็น”วงเวียนใหญ่-บางบอน”
Note: ข้อที่น่าผิดหวังที่สุดก็ไม่พ้นความหัวดื้อหัวรั้นของคนคลองสานนี่แหละที่ทำให้สายสีแดงจากหัวลำโพงไปมหาชัยโดนกุด
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/815038066740096

กรมการขนส่งทางรางเดินหน้าเร่งพัฒนาแผนแม่บทรถไฟฟ้าฉบับใหม่ M-MAP 2
https://www.facebook.com/watch?v=943158033613748

กรมรางเร่ง M-MAP 2 ลุยแผนรถไฟฟ้า 29 เส้นทาง ชง ครม.ใหม่ เติมเต็มโครงข่าย
โดย: ผู้จัดการออนไลน์
เผยแพร่: วันอังคาร ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 17:48 น.
ปรับปรุง: วันอังคาร ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 17:48 น.
https://www.youtube.com/watch?v=uPjCRReIJqE
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 44519
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 06/07/2023 10:21 pm    Post subject: Reply with quote

Wisarut wrote:
สแกนรถไฟฟ้าสายใหม่ 29 เส้นทาง ปลุกแผน M-MAP2
ฐานเศรษฐกิจ
05 กรกฎาคม 2566

คมนาคมดันแผนพัฒนารถไฟฟ้าระยะที่ 2 | BUSINESS WATCH | 06-07-66
TNN Online
Jul 6, 2023


https://www.youtube.com/watch?v=UHiotkjZLJo

การพัฒนาขนส่งระบบรางของไทยยังมีอีกหลายเส้นทางที่รอการผลักดันและการลงทุนจากรัฐบาลในระยะต่อไป ไปดูว่ามีเส้นทางไหนบ้างที่ยังไม่ได้ดำเนินการ และเส้นทางใหม่ เส้นทางส่วนต่อขยายใดที่มีความเป็นไปได้จะถูกบรรจุในแผนการลงทุน

จับตาปัญหาหนี้สินรถไฟฟ้าสายสีเขียว 7.8 หมื่นล้าน รัฐบาลใหม่จะหาทางออกอย่างไร ขณะที่สายสีเหลืองหลังเก็บค่าโดยสารยอดผู้ใช้บริการวูบ ลุ้นเปิดสายสีชมพูปลายปีนี้ ส่องแผนพัฒนาเส้นทางรถไฟฟ้าอีก 20 ปีข้างหน้า ส่วนราคาที่ดินสายไหนพุ่งทะยานสูงสุด
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> โครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในอนาคต All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3 ... 264, 265, 266 ... 278, 279, 280  Next
Page 265 of 280

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©