RailServe.Com

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai Gallery in Facebook

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311289
ทั่วไป:13271314
ทั้งหมด:13582603
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - ข่าวรถไฟฟ้าสายสีส้ม (บางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี)
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

ข่าวรถไฟฟ้าสายสีส้ม (บางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี)
Goto page Previous  1, 2, 3 ... 49, 50, 51 ... 89, 90, 91  Next
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> โครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในอนาคต
View previous topic :: View next topic  
Author Message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 09/03/2021 6:22 pm    Post subject: Reply with quote

“คีรี” เจ้าพ่อบีทีเอสทำหนังสือถึง “ประยุทธ์” ตรวจสอบ-ชะลอประมูลรถไฟฟ้าสีส้ม
อสังหาริมทรัพย์
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 14:13 น.

“คีรี กาญจนพาสน์” ทำหนังสือปิดผนึกถึง ”พลเอกประยุทธ์” ขอให้ตรวจสอบการประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม ”บางขุนนนท์-มีนบุรี” หลัง รฟม.เดินหน้ารับฟังความคิดเห็นใหม่ ยึดเกณฑ์พิจารณาข้อเสนอเทคนิค 30% ร่วมกับข้อเสนอการเงินและผลตอบแทน 70% ประเมินผู้ชนะ ไม่รอศาลปกครองกลางตัดสิน ไม่ผ่านขออนุมัติ ครม. และบอร์ด PPP ไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐและนิติธรรม จึงยื่นฟ้องผู้ว่า รฟม. และคณะกรรมการมาตรา 36 ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ขอนายกรัฐมนตรีสั่ง รฟม.หยุดการกระทำใด ๆ ไว้ก่อนจนกว่าศาลจะมีคำสั่งหรือคำพิพากษาต่อไป

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2564 นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหารบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BTSC ทำหนังสือปิดผนึกด่วนที่สุด ถึงนายกรัฐมนตรี เรื่องขอให้ตรวจสอบการดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (บางขุนนนท์-มีนบุรี)

ไล่เรียงที่มามูลเหตุ
โดยระบุว่า สืบเนื่องจากที่ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่ง พ.ร.บ.ร่วมทุนระหว่างรัฐและเอกชน 2562 ได้ร่วมกันเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน เล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม โดยการออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 จนเป็นเหตุให้บริษัท BTSC มีหนังสือสอบถามและขอความเป็นธรรมถึงบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ จำนวน 5 ฉบับ

ปรากฎว่าบริษัทมิได้รับการชี้แจงในผลการตรวจสอบเกี่ยวกับความไม่เป็นธรรมในการดำเนินโครงการแต่อย่างใด จนกระทั้งวันที่ 17 ก.พ. 2563 บริษัทได้ฟ้อง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกเป็นคดีปกครอง คดีหมายเลขดำที่ 2280/2563 เพื่อให้ศาลปกครองกลางมีคำสั่งทุเลาการบังคับตามมติที่เห็นชอบเปลี่ยนแปลงแก้ไขวิธีการประเมินข้อเสนอของคณะกรรมการคัดเลือกด้วย

ซึ่งศาลปกครองกลางไต่สวนแล้วมีคำสั่งให้คดีปกครองดังกล่าว เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2563 โดยศาลปกครองกลางได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การแก้ไขวิธีการประเมินข้อเสนอน่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงมีคำสั่งห้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนของ รฟม.ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มครั้งที่ 1 ไว้เป็นการชั่วคราวจนกว่าศาลจะมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเป็นอย่างอื่น

โดยในวันที่ 4 พ.ย. 2563 รฟม.มีหนังสือที่ รฟม. 007(คกก)สม/ว32 ถึงกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ BTSC โดยแจ้งว่า ”คดีปกครองดังกล่าวอยู่ระหว่างอุทธรณ์คำสั่งเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวก่อนการพิพากษา และยังคงกำหนดการยื่นข้อเสนอการร่วมลงทุนตามที่กำหนดไว้ในเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 คือวันที่ 9 พ.ย. 2563 ตั้งแต่เวลา 9.00-15.00 น. และมีกำหนดการเปิดซองข้อเสนอซองที่ 1 ในวันที่ 23 พ.ย. 2563 ตามเดิม” ทำให้บริษัทร่วมกับ บมจ.บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ และ บมจ.ซิโน-ไทย เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น ยื่นข้อเสนอการร่วมลงทุนในโครงการนามกิจการร่วมการค้าบีเอสอาร์ตามวันเวลาดังกล่าว

ต่อมาวันที่ 3 ก.พ. 2564 รฟม.ได้ประกาศในเว็บไซต์ www.mrta.co.thว่า “เพื่อให้การคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ภาครัฐ รฟม.จึงขอยกเลิกประกาศเชิญชวนและยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวนดังกล่าว”

และเมื่อวันที่ 13 ก.พ. 2564 ศาลปกครองสูงสุดได้มีหมายแจ้งว่า รฟม.ได้ขอถอนอุทธรณ์คำสั่งทุเลาฯ และศาลปกครองสูงสุดได้มีคำสั่งอนุญาตห้ถอนอุทธรณ์ เท่ากับว่าคำสั่งทุเลาที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยไว้ รฟม.ไม่ขอโต้แย้ง

โดยขณะนี้คดีอยู่ระหว่างรอฟังคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองกลาง ซึ่งบริษัทเห็นว่าการดำเนินการดังกล่าว ของ รฟม.ไม่ถูกต้องทั้งข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากประเด็นข้อคิดเห็นที่แตกต่างกันระหว่าง รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกกับบริษัท ยังอยู่ในการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่งทุกฝ่ายที่เป็นคู่ความที่เกี่ยวข้องจะต้องรอคำวินิจฉัยของศาลปกครองที่เป็นที่สุดเสียก่อน เพื่อนำมาเป็นแนวทางปฎิบัติให้ถูกต้องต่อไป

ยื่นฟ้องผู้ว่า รฟม.+บอร์ดคัดเลือก
ดังนั้นในวันที่ 22 ก.พ. 2564 บริษัทจึงจำเป็นต้องยื่นฟ้อง ผู้ว่าการ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกเป็นคดีอาญา ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ในฐานความผิดปฎิบัติหรือละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฎิบัติหรือละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดยทุจริต เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท30/2564

ข้อเท็จจริงกลับปรากฎว่าในวันที่ 1 มี.ค. 2564 ระหว่างรอฟังคำพิพากษาของศาลปกครองกลาง และการดำเนินกระบวนการทางอาญาของศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ที่บริษัท ฟ้อง รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือก ว่าได้กระทำความผิด รฟม. โดย นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม.ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนด้วยการประกาศรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนใหม่

โดยให้กรอกความเห็นในเอกสารตามแบบสอบถามและจัดส่งให้ รฟม. ผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของรฟม. ตั้งแต่วันที่ 17-19 มี.ค. 2564 ซึ่งปรากฎว่าข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน มีสาระสำคัญของวิธีการประเมินข้อเสนอ กล่าวคือ


”การพิจารณาข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 โดย รฟม.จะประเมินข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 เป็นคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งสัดส่วนเป็นคะแนนข้อเสนอซองที่ 2 ข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน และคะแนนข้อเสนอซองที่ 3 ข้อเสนอด้านการลงทุนและผบตอบแทน 70 คะแนน และนำคะแนนซองที่ 2 และซองที่ 3 ของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายมารวมกัน และผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้คะแนนรวมสูงสุดที่สุดจะเป็นผู้ผ่านการประเมินสูงสุด”

โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอในข้างต้น เป็นหลักเกณฑ์เดียวกับหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองมีคำสั่งไม่ให้ รฟม.นำมาใช้บังคับในการคัดเลือกเอกชน โดยศาลปกครองกลางชี้ว่า ”การเปลี่ยนแปลงวิธีการประเมินข้อเสนอในเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอและการออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 น่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย”

จากข้อเท็จจริงจะเห็นได้ว่า ตาม พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ 2562 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับเอกชนเล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ โดยการออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ก็ดี การยกเลิกประกาศเชิญชวน ยกเลิกการคัดเลือกเอกชน รวมถึงการเปิดให้รับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน เพื่อจัดทำร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนใหม่ ที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ มิอาจกระทำได้

โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโครงการและความล่าช้าที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการกระทำของ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือก ที่ไม่ปฎิบัติตามกฎหมายกำหนด โดยมีมูลเหตุจูงใจที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชนทั้ง ๆ ที่กรรมการผู้แทนสำนักงบประมาณในคณะกรรมการคัดเลือก ได้ทักท้วงแล้ว เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาระสำคัญ ต้องเสนอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีก่อน แต่คณะกรรมการคัดเลือกกลับไม่รับฟัง และยิ่งปรากฎหลักฐานชัดขึ้นเมื่อ รฟม.ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกขึ้นใหม่ ที่ล้วนเป็นหลักเกณฑ์ใหม่ที่ รฟม.ประสงค์จะให้มีการเปลี่ยนแปลง

ผิดหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม
แสดงให้เห็นชัดเจนว่า การกระทำที่ผิดกฎหมายต่าง ๆ ที่ผ่านมาของ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกมีจุดประสงค์เพียงเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชน ที่ผ่านความเห็นชอบมาโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ไปสู่หลักเกณฑ์ใหม่ที่ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกต้องการ โดยไม่คำนึงว่าหลักเกณฑ์เดิมเป็นสิ่งที่จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามกระบวนการที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว เป็นการกระทำที่ไม่ได้คำนึงถึงหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม ไม่เคารพต่อคำสั่งของศาลปกครองกลาง


โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ รฟม.ได้เริ่มกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากเอกชนเพื่อนำไปจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอชนและร่างสัญญาร่วมลงทุน เพื่อส่งให้คณะกรรกมารคัดเลือกให้ความเห็นชอบตาม พ.ร.บ.ร่วมทุน 2562 มาตรา 39 โดยไม่เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นต่อคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน และคณะรัฐมนตรีตามกฎหมายหมายก่อนว่ากระทำได้หรือไม่ ถูกต้อง กระทำได้หรือไม่ ถูกต้องตามกฎหมายที่กำหนดไว้หรือไม่

บริษัทได้พยายามอย่างที่สุดตามกฎหมายและประกาศที่บัญญัติไว้ เพื่อระงับยังยั้งการกระทำที่ไม่ชอบของกลุ่มบุคคลดังกล่าว จนนำไปสู่การฟ้องร้องดำเนินคดีต่อศาลอญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง เพียงเพื่อต้องการให้การประมูลโครงการขนาดใหญ่ของรัฐเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายตามหลักนิติรัฐและนิติธรรม และเพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี แต่ปรากฎว่ากลุ่มบุคคลดังกล่าวยังไม่มีท่าทีที่จะสำนึกและแก้ไขให้ถูกต้อง ทั้งไม่ปรากฎว่าหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในการกำกับ ควบคุมดูแล การกระทำของ รฟม. และคณะกรรกมารคัดเลือก จะออกมาดำเนินการตามกฎหมาย เพื่อยับยั้งต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น

อนึ่งการที่ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกได้แก้ไขหลักเกณฑ์ประเมินหลังจากที่ออกหลักเกณฑ์ดังกล่าว ตลอดจนประกาศเชิญชวนให้มีการยื่นข้อเสนอโดยถูกต้องในทุกขั้นตอนแล้ว จึงมีการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่เป็นสาระสำคัญโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมถึงการยกเลิกและเริ่มต้นกระบวนการคัดเลือกใหม่ โดยใช้หลักเกณฑ์การประเมินที่ยังมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย เป็นการทำลายกระบวนการประกวดราคาครั้งประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน

กระทบความเชื่อมั่นนักลงทุนต่างชาติ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน รวมถึงโครงการนี้ถือว่าเป็นโครงการร่วมลงทุนขนาดใหญ่ที่ใช้การประกวดราคาแบบ Interantional Bidding อีกทั้งการที่ รฟม.ใช้หลักเกณฑ์ประเมินข้อเสนอตามที่ปรากฎในข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของเอกชน มีการชี้นำในหัวข้อที่วิธีการประเมินข้อเสนอที่ระบุถึงการใช้คะแนนเทคนิคที่สอดรับกับการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยเป็นเบื้องต้นว่าน่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

หากปล่อยให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการไม่ถูกต้องในลักษณะที่เกิดขึ้นในขณะนี้ จะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของภาคเอกชนผู้ลงทุนทั้งภายในประเทศ และโดยเฉพาะผู้ลงทุนจากต่างประเทศ จนอาจทำให้ประเทศชาติได้รับความเสื่อมเสียและขาดความน่าเชื่อถือ

บริษัทจึงกราบเรียนมายังท่านนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 ตรวจสอบการกระทำของผู้ว่าการรฟม. คณะกรรมการคัดเลือก และผู้เกี่ยวข้องตามข้อเท็จจริงที่นำเสนอข้างต้น และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากปรากฎผลทางการพิจารณาคดี ว่าการกระทำที่ผ่านมาเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามฟ้อง ขอให้สั่งการไปยัง รฟม.ให้หยุดการกระทำใด ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ที่เป็นกรณีพิพาทนี้จนกว่าศาลจะได้มีคำสั่งหรือคำพิพากษาต่อไป


'บีทีเอส'ไม่จบ! ร่อนหนังสือถึงบิ๊กตู่ 5 หน้ากระดาษ ชะลอประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 17.17 น.


"บีทีเอส"ร่อนหนังสือความยาว 5 หน้ากระดาษถึงนายกฯ จี้ตรวจสอบโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี พร้อมให้สั่ง รฟม. หยุดทุกการกระทำที่เกี่ยวข้องกับโครงการขณะที่ยังมีปัญหาข้อพิพาท



เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอส ส่งหนังสือความยาว 5 หน้าถึงพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ขอให้ตรวจสอบการดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ที่ รฟม.ยกเลิกประมูลและจัดประมูลขึ้นมาใหม่ แม้อยู่ระหว่างการฟ้องร้อง และมีข้อพิพาท จึงขอให้นายกรัฐมนตรีได้ สั่งการไปยัง รฟม. ให้หยุดการกระทำใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มที่เป็นกรณีพิพาทนี้จนกว่าศาลจะได้มีคำสั่งหรือคำพิพากษาต่อไป

หนังสือดังกล่าว ระบุว่า ตามที่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ คณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2526 (“คณะกรรมการคัดเลือกฯ”) ได้ร่วมกันเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน เล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ ของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) (“โครงการฯ”)โดยออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 จนเป็นเหตุให้บีทีเอส มีหนังสือสอบถามและขอความเป็นธรรมถึงบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ จำนวน 5 ฉบับ แต่ปรากฏว่าบริษัทฯ มิได้รับการชี้แจงในผลการตรวจสอบเกี่ยวกับความไม่เป็นธรรมในการดำเนินโครงการฯ แต่อย่างใด




จนกระทั่งเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2563 บริษัทฯ ได้ฟ้อง รฟม. และ คณะกรรมการคัดเลือกฯ เป็นคดีปกครอง คดีหมายเลขดำที่ 2280/2563 เพื่อให้ศาลปกครองกลางมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพิกถอนการกระทำทางปกครองและ/หรือคำสั่งทางปกครองทั่วไป และขอให้ศาลปกครองกลางมีคำสั่งทุเลาการบังคับตามมติที่เห็นชอบเปลี่ยนแปลงแก้ไขวิธีการประเมินข้อเสนอของคณะกรรมการคัดเลือกฯ ด้วย ซึ่งศาลปกครองกลางไต่สวนแล้วมีคำสั่งในคดีปกครองดังกล่าว เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2563โดยศาลปกครองกลางได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การแก้ไขวิธีการประเมินข้อเสนอน่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงมีคำสั่งให้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนของ รฟม. ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มครั้งที่ 1 ไว้เป็นการชั่วคราวจนกว่าศาลจะมีคำพิพากษา หรือคำสั่งเป็นอย่างอื่น

โดยในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 รฟม. มีหนังสือที่ รฟม 007 (คกกสม/ว32 ถึงกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) โดยแจ้งว่า “คดีปกครองดังกล่าวอยู่ระหว่างอุทธรณ์คำสั่งเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวก่อนการพิพากษา และยังคงกำหนดการยื่นข้อเสนอการร่วมลงทุนตามที่กำหนดไว้ในเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 คือ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ตั้งแต่ เวลา 9.00 นาฬิกา – 15.00นาฬิกา และมีกำหนดเปิดซองข้อเสนอซองที่ 1 ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 ตามเดิม” ทำให้บริษัทฯ ร่วมกับ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ชิโน – ไทยเอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) ยื่นข้อเสนอการร่วมลงทุนในโครงการฯ ในนาม กิจการร่วมการค้า บีเอสอาร์ (BSR Join Venture) ตามวันเวลาดังกล่าว

ต่อมาเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 รฟม. ได้ประกาศในเว็บไซต์ WWW.mrta.co.th ว่า “เพื่อให้การคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ภาครัฐ รฟม. จึงขอยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวนดังกล่าว..” และเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564 ศาลปกครองสูงสุดได้มีหมายแจ้งว่ารฟม. ได้ขอถอนอุทธรณ์คำสั่งทุเลาฯ และศาลปกครองสูงสุดได้มีคำสั่งอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ เท่ากับว่าคำสั่งทุเลาฯ ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยไว้ รฟม. ไม่ขอโต้แย้ง

ขณะนี้คดีอยู่ระหว่างรอฟังคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองกลาง บริษัทฯ เห็นว่า การดำเนินการดังกล่าวของ รฟม. ไม่ถูกต้องทั้งข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากประเด็นข้อคิดเห็นที่แตกต่างกันระหว่าง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ กับบริษัทฯ ยังอยู่ในการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่งทุกฝ่ายที่เป็นคู่ความที่เกี่ยวข้องจะต้องรอคำวินิจฉัยของศาลปกครองที่เป็นที่สุดเสียก่อนเพื่อนำมาเป็นแนวทางปฏิบัติให้ถูกต้อง ต่อไป



ดังนั้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 บริษัทฯ จึงจำเป็นต้องยื่นฟ้อง ผู้ว่าการ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ เป็นคดีอาญา ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ในฐานความผิดปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 30/2564

ข้อเท็จจริงกลับปรากฏว่า ในวันที่ 9 มีนาคม 2564 ระหว่างรอฟังคำพิพากษาของศาลปกครองกลางและการดำเนินกระบวนการทางอาญาของศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ที่บริษัทฯ ฟ้อง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ว่าได้กระทำความผิด ทาง รฟม. โดยนายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. ได้เริ่ม กระบวนการคัดเลือกเอกชนด้วยการประกาศรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนใหม่ โดยให้กรอกความเห็นใน เอกสารตามแบบสอบถามและจัดส่งให้ รฟม. ผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ของ รฟม. ตั้งแต่วันที่ 17-19 มีนาคม 64 ซึ่งปรากฎว่าข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ มีสาระสำคัญของวิธีการประเมินข้อเสนอ กล่าวคือ “การพิจารณาข้อเสนอของที่ 2 และซองที่ 3 โดย รฟม.จะประเมินข้อเสนอซองที่ 2และซองที่ 3 เป็นคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 600 คะแนน แบ่ง

สัดส่วนเป็นคะแนนข้อเสนอซองที่ 2 ข้อเสนอด้านเทคนิค 30คะแนน และคะแนนข้อเสนอซองที่ 3 ข้อเสนอ ด้านการลงทุนและผลตอบแทน 70คะแนน และนำคะแนนซองที่ 2 และซองที่ 3 ของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายมารวมกัน และผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้คะแนนรวมสูงที่สุดจะเป็นผู้ผ่านการประเมินสูงสุด”

โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอในข้างต้น เป็นหลักเกณฑ์เดียวกับหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางมีคำสั่งไม่ให้ รฟม.นำมาใช้บังคับในการคัดเลือกเอกชน โดยศาลปกครองกลางชี้ว่า “การเปลี่ยนแปลงวิธีการประเมินข้อเสนอในเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน เล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ และการออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 น่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย…”จากข้อเท็จจริงข้างต้น จะเห็นได้ว่า ตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.2562 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ โดยการออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ก็ดี การยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ ยกเลิกการคัดเลือกเอกชนตามประกาศเชิญชวนฯ รวมถึง การเปิดให้รับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนเพื่อจัดทำร่างเอกสาร

สำหรับการคัดเลือกเอกชนใหม่ที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ก็ดี มิอาจกระทำได้เช่นที่ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกฯ กำลังดำเนินการอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโครงการฯ และความล่าช้าที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการกระทำของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีมูลเหตุจูงใจที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชนทั้งๆที่กรรมการผู้แทนสำนักงบประมาณใน



คณะกรรมการคัดเลือกฯ ที่ร่วมประชุมด้วยได้ทักท้วงแล้วว่า เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาระสำคัญ ต้อง เสนอขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีก่อน แต่คณะกรรมการคัดเลือกฯ กลับไม่รับฟัง และยิ่งปรากฏหลักฐานชัดเจน เมื่อ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกขึ้นใหม่ โดยการเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องและข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ ที่นำเสนอล้วนเป็นหลักเกณฑ์ใหม่ที่ รฟม. ประสงค์จะให้มีการเปลี่ยนแปลง แสดงให้เห็นชัดเจนว่า การกระทำที่ผิดกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมาของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ มีจุดประสงค์เพียงเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชน ที่ผ่านความเห็นชอบมาโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว นำไปสู่หลักเกณฑ์ใหม่ที่ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ต้องการ โดยไม่คำนึงว่าหลักเกณฑ์เดิมเป็นสิ่งที่จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามกระบวนการที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว เป็นการกระทำที่ไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม ไม่เคารพต่อคำสั่งของศาลปกครองกลาง และไม่ใส่ใจต่อคำทักท้วงของสื่อมวลชนที่ติดตามโครงการฯ นี้มาอย่างต่อเนื่อง

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากเอกชนเพื่อนำไปจัดทำร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนและร่างสัญญาร่วมลงทุน เพื่อส่งให้คณะกรรมการคัดเลือกฯ ให้ความเห็นชอบตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562มาตรา 39 โดยไม่เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นต่อคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน และคณะรัฐมนตรีพิจารณาตามกฎหมายก่อนว่า กระทำได้หรือไม่ ถูกต้องตามกฎหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ อย่างไร

เรื่องนี้มีขั้นตอนตามกฎหมาย และประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนกำหนดไว้อย่างชัดเจนแล้ว บริษัทฯ ได้พยายามอย่างที่สุดตามกฎหมาย และประกาศที่บัญญัติไว้ เพื่อระงับยับยั้งการกระทำที่ไม่ชอบของกลุ่มบุคคลดังกล่าว จนนำไปสู่การฟ้องร้องดำเนินคดีต่อศาลฯ เพื่อให้การประมูลเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายตามหลักนิติรัฐและนิติธรรม เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม แต่ปรากฏว่า กลุ่มบุคคลดังกล่าวไม่มีท่าทีที่จะแก้ไขให้ถูกต้อง มีการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่เป็นสาระสำคัญโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งประกาศยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวนดังกล่าว และเริ่มต้นกระบวนการคัดเลือกเอกชนใหม่โดยใช้หลักเกณฑ์การประเมินที่ยังมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย เป็นการทำลายกระบวนการประกวดราคาครั้งประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน ทั้งที่เป็น International Bidding

อีกทั้งการที่ รฟม. ใช้หลักเกณฑ์การประเมินข้อเสนอตามที่ปรากฏในข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ มีการชี้นำในหัวข้อที่วิธีการประเมินข้อเสนอที่ระบุถึงการใช้คะแนนด้านเทคนิคที่สอดรับกับการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยเป็นเบื้องต้นว่าน่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายหากปล่อยให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้องในลักษณะที่เกิดขึ้นในขณะนี้ จะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของภาคเอกชนผู้ลงทุนทั้งภายในประเทศและโดยเฉพาะผู้ลงทุนจากต่างประเทศ จนอาจทำให้ประเทศชาติได้รับความเสื่อมเสียและขาดความน่าเชื่อถือ

บริษัทฯ จึงขอให้นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2563 ได้โปรดตรวจสอบการกระทำของผู้ว่าการ รฟม. คณะกรรมการคัดเลือกฯ และผู้เกี่ยวข้องตามข้อเท็จจริงรายละเอียดที่นำเสนอข้างต้น และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากปรากฏผลทางการพิจารณาคดีว่า การกระทำที่ผ่านมาเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามฟ้อง จึงขอให้ท่านนายกรัฐมนตรีได้โปรดสั่งการไปยัง รฟม. ให้หยุดการกระทำใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มที่เป็นกรณีพิพาทนี้จนกว่าศาลจะได้มีคำสั่งหรือคำพิพากษาต่อไป


ไม่จบ BTS ยื่นหนังสือถึงนายกฯตรวจสอบรฟม.หยุดประมูลสายสีส้ม
09 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15:58 น.



9 มี.ค. 2564 รายงานข่าวจากบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ 9 มี.ค. 2564 รายงานข่าวจากบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BTSC ระบุว่า เมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2564นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร BTSC ได้ลงนามในหนังสือ และยื่นถึงพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้ตรวจสอบการดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร (กม.) วงเงิน 1.28 แสนล้านบาท โดยมีใจความสำคัญว่า ตามที่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ได้ร่วมกันเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน โดยจะมีการพิจารณาประเมินข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน และด้านการลงทุนและผลตอบแทน 70 คะแนน จนเป็นเหตุให้ BTSC ได้ยื่นฟ้องศาลปกครองกลางก่อนหน้านี้นั้น

ทั้งนี้เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2564 รฟม. ได้ประกาศในเว็บไซต์ www.mrta.co.th ยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวน และเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2564 ศาลปกครองสูงสุดได้มีหมายแจ้งว่า รฟม. ได้ขอถอนอุทธรณ์คำสั่งทุเลาฯ และศาลปกครองสูงสุดได้มีคำสั่งอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ เท่ากับว่าคำสั่งทุเลาฯ ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยไว้ รฟม. ไม่ขอโต้แย้ง อีกทั้ง ในขณะนี้คดีอยู่ระหว่างรอฟังคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองกลาง ซึ่ง BTSC เห็นว่า การดำเนินการดังกล่าวของ รฟม. ไม่ถูกต้องทั้งข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากประเด็นข้อคิดเห็นที่ แตกต่างกันระหว่าง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 กับ BTSC ยังอยู่ในการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่งทุกฝ่ายที่เป็นคู่ความที่เกี่ยวข้องจะต้องรอคำวินิจฉัยของศาลปกครองที่เป็นที่สุดเสียก่อนเพื่อนำมาเป็นแนวทางปฏิบัติให้ถูกต้องต่อไป
จนกระทั่งเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2564 นั้น BTSC ได้ยื่นฟ้องนายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 เป็นคดีอาญา ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ในฐานความผิดปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 30/2564
ทั้งนี้ ข้อเท็จจริงกลับปรากฏว่า เมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2564 ที่ผ่านมา ระหว่างรอฟังคำพิพากษาของศาลปกครองกลางและการดำเนินกระบวนการทางอาญาของศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ที่ BTSC ฟ้อง รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ว่าได้กระทำความผิด รฟม. โดยนายภคพงศ์ ผู้ว่าการ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนด้วยการประกาศรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนใหม่ โดยให้กรอกความเห็นในเอกสารตามแบบสอบถามและจัดส่งให้ รฟม. ผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ของ รฟม. ตั้งแต่วันที่ 17-19 มี.ค. 2564

อย่างไรก็ตามซึ่งปรากฏว่าข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ มีสาระสำคัญของวิธีการประเมินข้อเสนอ กล่าวคือ "การพิจารณาข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 โดย รฟม.จะประเมินข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 เป็นคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งสัดส่วนเป็นคะแนนข้อเสนอซองที่ 2 ข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน และคะแนนข้อเสนอซองที่ 3 ข้อเสนอด้านการลงทุนและผลตอบแทน 70 คะแนน และนำคะแนนซองที่ 2 และซองที่ 3 ของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายมารวมกัน และผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้คะแนนรวมสูงที่สุดจะเป็นผู้ผ่านการประเมินสูงสุด" โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอในข้างต้น เป็นหลักเกณฑ์เดียวกับหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางมีคำสั่งไม่ให้ รฟม.นำมาใช้บังคับในการคัดเลือกเอกชน

รายงานข่าวจาก BTSC ระบุอีกว่า จากข้อเท็จจริงข้างต้น จะเห็นได้ว่า ตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 นั้น การดำเนินการของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ที่ผ่านมา รวมถึงการเปิดให้รับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนเพื่อจัดทำร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนใหม่ที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ มิอาจกระทำได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโครงการฯ และความล่าช้าที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการกระทำของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีมูลเหตุจูงใจที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชน ทั้งๆที่ กรรมการผู้แทนสำนักงบประมาณ ในคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ที่ร่วมประชุมด้วยได้ทักท้วงแล้วว่า เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาระสำคัญ ต้องเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ก่อน

ทั้งนี้ แสดงให้เห็นชัดเจนว่า การกระทำที่ผิดกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมาของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 มีจุดประสงค์เพียงเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชน ที่ผ่านความเห็นชอบมาโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ไปสู่หลักเกณฑ์ใหม่ที่ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ต้องการ โดยไม่คำนึงว่าหลักเกณฑ์เดิมเป็นสิ่งที่จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามกระบวนการที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว เป็นการกระทำที่ไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม ไม่เคารพต่อคำสั่งของศาลปกครองกลาง และไม่ใส่ใจต่อคำทักท้วงของสื่อมวลชนที่ติดตามโครงการฯ นี้มาอย่างต่อเนื่อง

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากเอกชนเพื่อนำไปจัดทำร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนและร่างสัญญาร่วมลงทุน เพื่อส่งให้คณะกรรมการคัดเลือกฯ ให้ความเห็นชอบตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 มาตรา 39 โดยไม่เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นต่อคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน และ ครม.พิจารณาตามกฎหมายก่อนว่า กระทำได้หรือไม่ ถูกต้องตามกฎหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ อย่างไร

ขณะเดียวกัน เรื่องดังกล่าว มีขั้นตอนตามกฎหมาย และประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนกำหนดไว้อย่างชัดเจนแล้ว BTSC ได้พยายามอย่างที่สุดตามกฎหมาย และประกาศที่บัญญัติไว้ เพื่อระงับยับยั้งการกระทำที่ไม่ชอบของกลุ่มบุคคลดังกล่าว จนนำไปสู่การฟ้องร้องดำเนินคดีต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง เพียงเพื่อต้องการให้การประมูลโครงการขนาดใหญ่ของรัฐเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายตามหลักนิติรัฐและนิติธรรม และเพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี

ทั้งนี้ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ได้แก้ไขหลักเกณฑ์การประเมินหลังจากที่ออกหลักเกณฑ์ดังกล่าว ตลอดจนประกาศเชิญชวนฯ ให้มีการยื่นข้อเสนอโดยถูกต้องในทุกขั้นตอนแล้ว จึงมีการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่เป็นสาระสำคัญโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งการที่ต่อมาได้ประกาศยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวนดังกล่าว และเริ่มต้นกระบวนการคัดเลือกเอกชนใหม่โดยใช้หลักเกณฑ์การประเมินที่ยังมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย เป็นการทำลายกระบวนการประกวดราคาครั้งประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน รวมถึงโครงการนี้ถือเป็นโครงการร่วมลงทุนขนาดใหญ่ที่ใช้การประกวดราคาแบบ International Bidding

อีกทั้งการที่ รฟม. ใช้หลักเกณฑ์การประเมินข้อเสนอตามที่ปรากฎในข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ มีการชี้นำในหัวข้อที่วิธีการประเมินข้อเสนอที่ระบุถึงการใช้คะแนนด้านเทคนิคที่สอดรับกับการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยเป็นเบื้องต้นว่าน่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หากปล่อยให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้องในลักษณะที่เกิดขึ้นในขณะนี้ จะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของภาคเอกชนผู้ลงทุนทั้งภายในประเทศและโดยเฉพาะผู้ลงทุนจากต่างประเทศ จนอาจทำให้ประเทศชาติได้รับความเสื่อมเสียและขาดความน่าเชื่อถือ

“BTSC จึงขอกราบเรียนมายังท่านนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้โปรดตรวจสอบการกระทำของผู้ว่าการ รฟม. คณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 และผู้เกี่ยวข้องตามข้อเท็จจริงรายละเอียดที่นำเสนอข้างต้น และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากปรากฎผลทางการพิจารณาคดีว่า การกระทำที่ผ่านมาเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามฟ้อง จึงขอให้ท่านนายกรัฐมนตรี ได้โปรดสั่งการไปยัง รฟม. ให้หยุดการกระทำใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มที่เป็นกรณีพิพาทนี้ จนกว่าศาลจะได้มีคำสั่งหรือคำพิพากษาต่อไป” รายงานข่าว ระบุไว้

รายงานข่าวแจ้งว่าบีทีเอส จะมีการแถลงข่าว ความคืบหน้า การดำเนินงานรถไฟฟ้าสายสีส้ม ในวันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 ตั้งแต่เวลา 13.30 น. ณ ห้องสุรศักดิ์บอลรูม 2 และ 3 (ชั้น11) โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพC ระบุว่า เมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2564นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร BTSC ได้ลงนามในหนังสือ และยื่นถึงพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้ตรวจสอบการดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร (กม.) วงเงิน 1.28 แสนล้านบาท โดยมีใจความสำคัญว่า ตามที่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ได้ร่วมกันเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน โดยจะมีการพิจารณาประเมินข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน และด้านการลงทุนและผลตอบแทน 70 คะแนน จนเป็นเหตุให้ BTSC ได้ยื่นฟ้องศาลปกครองกลางก่อนหน้านี้นั้น

ทั้งนี้เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2564 รฟม. ได้ประกาศในเว็บไซต์ www.mrta.co.th ยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวน และเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2564 ศาลปกครองสูงสุดได้มีหมายแจ้งว่า รฟม. ได้ขอถอนอุทธรณ์คำสั่งทุเลาฯ และศาลปกครองสูงสุดได้มีคำสั่งอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ เท่ากับว่าคำสั่งทุเลาฯ ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยไว้ รฟม. ไม่ขอโต้แย้ง อีกทั้ง ในขณะนี้คดีอยู่ระหว่างรอฟังคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองกลาง ซึ่ง BTSC เห็นว่า การดำเนินการดังกล่าวของ รฟม. ไม่ถูกต้องทั้งข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากประเด็นข้อคิดเห็นที่ แตกต่างกันระหว่าง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 กับ BTSC ยังอยู่ในการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่งทุกฝ่ายที่เป็นคู่ความที่เกี่ยวข้องจะต้องรอคำวินิจฉัยของศาลปกครองที่เป็นที่สุดเสียก่อนเพื่อนำมาเป็นแนวทางปฏิบัติให้ถูกต้องต่อไป

จนกระทั่งเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2564 นั้น BTSC ได้ยื่นฟ้องนายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 เป็นคดีอาญา ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ในฐานความผิดปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท 30/2564

ทั้งนี้ ข้อเท็จจริงกลับปรากฏว่า เมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2564 ที่ผ่านมา ระหว่างรอฟังคำพิพากษาของศาลปกครองกลางและการดำเนินกระบวนการทางอาญาของศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ที่ BTSC ฟ้อง รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ว่าได้กระทำความผิด รฟม. โดยนายภคพงศ์ ผู้ว่าการ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนด้วยการประกาศรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนใหม่ โดยให้กรอกความเห็นในเอกสารตามแบบสอบถามและจัดส่งให้ รฟม. ผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ของ รฟม. ตั้งแต่วันที่ 17-19 มี.ค. 2564

อย่างไรก็ตามซึ่งปรากฏว่าข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ มีสาระสำคัญของวิธีการประเมินข้อเสนอ กล่าวคือ "การพิจารณาข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 โดย รฟม.จะประเมินข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 เป็นคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งสัดส่วนเป็นคะแนนข้อเสนอซองที่ 2 ข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน และคะแนนข้อเสนอซองที่ 3 ข้อเสนอด้านการลงทุนและผลตอบแทน 70 คะแนน และนำคะแนนซองที่ 2 และซองที่ 3 ของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายมารวมกัน และผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้คะแนนรวมสูงที่สุดจะเป็นผู้ผ่านการประเมินสูงสุด" โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอในข้างต้น เป็นหลักเกณฑ์เดียวกับหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางมีคำสั่งไม่ให้ รฟม.นำมาใช้บังคับในการคัดเลือกเอกชน

รายงานข่าวจาก BTSC ระบุอีกว่า จากข้อเท็จจริงข้างต้น จะเห็นได้ว่า ตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 นั้น การดำเนินการของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ที่ผ่านมา รวมถึงการเปิดให้รับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนเพื่อจัดทำร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนใหม่ที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ มิอาจกระทำได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโครงการฯ และความล่าช้าที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการกระทำของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีมูลเหตุจูงใจที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชน ทั้งๆที่ กรรมการผู้แทนสำนักงบประมาณ ในคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ที่ร่วมประชุมด้วยได้ทักท้วงแล้วว่า เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาระสำคัญ ต้องเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ก่อน

ทั้งนี้ แสดงให้เห็นชัดเจนว่า การกระทำที่ผิดกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมาของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 มีจุดประสงค์เพียงเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชน ที่ผ่านความเห็นชอบมาโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ไปสู่หลักเกณฑ์ใหม่ที่ รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ต้องการ โดยไม่คำนึงว่าหลักเกณฑ์เดิมเป็นสิ่งที่จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามกระบวนการที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว เป็นการกระทำที่ไม่คำนึงถึงหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม ไม่เคารพต่อคำสั่งของศาลปกครองกลาง และไม่ใส่ใจต่อคำทักท้วงของสื่อมวลชนที่ติดตามโครงการฯ นี้มาอย่างต่อเนื่อง

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากเอกชนเพื่อนำไปจัดทำร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนและร่างสัญญาร่วมลงทุน เพื่อส่งให้คณะกรรมการคัดเลือกฯ ให้ความเห็นชอบตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 มาตรา 39 โดยไม่เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นต่อคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน และ ครม.พิจารณาตามกฎหมายก่อนว่า กระทำได้หรือไม่ ถูกต้องตามกฎหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ อย่างไร

ขณะเดียวกัน เรื่องดังกล่าว มีขั้นตอนตามกฎหมาย และประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนกำหนดไว้อย่างชัดเจนแล้ว BTSC ได้พยายามอย่างที่สุดตามกฎหมาย และประกาศที่บัญญัติไว้ เพื่อระงับยับยั้งการกระทำที่ไม่ชอบของกลุ่มบุคคลดังกล่าว จนนำไปสู่การฟ้องร้องดำเนินคดีต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง เพียงเพื่อต้องการให้การประมูลโครงการขนาดใหญ่ของรัฐเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายตามหลักนิติรัฐและนิติธรรม และเพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี

ทั้งนี้ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ได้แก้ไขหลักเกณฑ์การประเมินหลังจากที่ออกหลักเกณฑ์ดังกล่าว ตลอดจนประกาศเชิญชวนฯ ให้มีการยื่นข้อเสนอโดยถูกต้องในทุกขั้นตอนแล้ว จึงมีการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่เป็นสาระสำคัญโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งการที่ต่อมาได้ประกาศยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนตามประกาศเชิญชวนดังกล่าว และเริ่มต้นกระบวนการคัดเลือกเอกชนใหม่โดยใช้หลักเกณฑ์การประเมินที่ยังมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย เป็นการทำลายกระบวนการประกวดราคาครั้งประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน รวมถึงโครงการนี้ถือเป็นโครงการร่วมลงทุนขนาดใหญ่ที่ใช้การประกวดราคาแบบ International Bidding

อีกทั้งการที่ รฟม. ใช้หลักเกณฑ์การประเมินข้อเสนอตามที่ปรากฎในข้อมูลสำหรับการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนฯ มีการชี้นำในหัวข้อที่วิธีการประเมินข้อเสนอที่ระบุถึงการใช้คะแนนด้านเทคนิคที่สอดรับกับการแก้ไขหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางวินิจฉัยเป็นเบื้องต้นว่าน่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หากปล่อยให้หน่วยงานของรัฐมีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้องในลักษณะที่เกิดขึ้นในขณะนี้ จะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของภาคเอกชนผู้ลงทุนทั้งภายในประเทศและโดยเฉพาะผู้ลงทุนจากต่างประเทศ จนอาจทำให้ประเทศชาติได้รับความเสื่อมเสียและขาดความน่าเชื่อถือ

“BTSC จึงขอกราบเรียนมายังท่านนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้โปรดตรวจสอบการกระทำของผู้ว่าการ รฟม. คณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 และผู้เกี่ยวข้องตามข้อเท็จจริงรายละเอียดที่นำเสนอข้างต้น และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากปรากฎผลทางการพิจารณาคดีว่า การกระทำที่ผ่านมาเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามฟ้อง จึงขอให้ท่านนายกรัฐมนตรี ได้โปรดสั่งการไปยัง รฟม. ให้หยุดการกระทำใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มที่เป็นกรณีพิพาทนี้ จนกว่าศาลจะได้มีคำสั่งหรือคำพิพากษาต่อไป” รายงานข่าว ระบุไว้

รายงานข่าวแจ้งว่าบีทีเอส จะมีการแถลงข่าว ความคืบหน้า การดำเนินงานรถไฟฟ้าสายสีส้ม ในวันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 ตั้งแต่เวลา 13.30 น. ณ ห้องสุรศักดิ์บอลรูม 2 และ 3 (ชั้น11) โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพ
Wisarut wrote:
เดือดจัด บีทีเอส ยื่นหนังสือถึง นายก เคลียร์ประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม รอบ 2
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project

วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 13:12 น.

เดือด!! 5 โมงเย็น รฟม.เปิดโต๊ะแถลงข่าวด่วน
*ศึกประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน
*บีทีเอสร้องนายกฯสั่งชะลอ/รอศาลตัดสิน
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2855381024683397


Last edited by Wisarut on 12/03/2021 11:30 pm; edited 2 times in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 09/03/2021 7:26 pm    Post subject: Reply with quote

ศาลจำหน่ายคดี“บีทีเอสซี”ขอถอนประกาศปมรถไฟฟ้าสายสีส้ม
หน้า ธุรกิจ
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15:12 น.

ศาลปกครองเผยจำหน่ายคดีปมขอเพิกถอนประกาศหลักเกณฑ์ประมูลใหม่ หลังรัฐล้มประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม แต่ยังเหลือประเด็นชดใช้ค่าเสียหาย 5 แสนบาท


วันนี้ (9 มี.ค.64) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในการแถลงข่าวผลการดำเนินงาน 20 ปี ศาลปกครอง นายจำกัด ชุมพลวงศ์ รองโฆษกศาลปกครอง กล่าวชี้แจงกรณีรัฐบาลล้มประมูลโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ที่มีการฟ้องคดีอยู่ในศาลปกครอง ว่า คดีนี้ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอสซี ขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนประกาศหลักเกณฑ์การประมูลใหม่ หลัง รฟม.มีการเปิดประมูลไปแล้ว ซึ่งเมื่อวันที่ 5 มี.ค.ที่ผ่านมา ศาลได้มีคำสั่งจำหน่ายคดีในประเด็นที่ บมจ.บีทีเอสซี ขอให้เพิกถอนประกาศหลักเกณฑ์การประมูลใหม่ดังกล่าว

เพราะหมดเหตุที่ศาลจะต้องวินิจฉัย เนื่องจากรัฐบาลได้มีการยกเลิกการประมูลและเปิดการประมูลโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าดังกล่าวใหม่ แต่ยังเหลือประเด็นที่ศาลต้องพิจารณาต่อไป คือ กรณี บมจ.บีทีเอสซี ขอให้ศาลสั่งให้ รฟม.ชดใช้ค่าเสียหายจำนวน 500,000 บาท จากการจ้างที่ปรึกษาทางด้านเทคนิคในการยื่นประมูลโครงการดังกล่าว เท่านั้น

รฟม.โล่ง! ศาลจำหน่ายคดี “สีส้ม” เดินหน้าประมูลใหม่ ขายซอง เม.ย.นี้
โดย: ผู้จัดการออนไลน์
เผยแพร่: วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20:22 น.
ปรับปรุง: วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 20:22 น.


“รฟม.” ลุยประมูลสายสีส้มรอบใหม่หลังศาลจำหน่ายคดีบีทีเอสฟ้องร้อง ย้ำเปิดรับฟังความเห็นร่าง RFP ก่อนสรุปเสนอ กก.มาตรา 36 เคาะเกณฑ์คัดเลือก แจงคะแนนเทคนิคกับราคา 30-70 เพื่อประโยชน์ต่อโครงการและ รฟม. ด้าน “ศักดิ์สยาม” สั่ง รฟม.เตรียมพร้อมชี้แจงหลัง “บีทีเอส” ร้องนายกฯ กำชับยึด พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ ทุกขั้นตอน

แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคมเปิดเผยว่า ในการประชุมหัวหน้าหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม วันนี้ (9 มี.ค.) นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ได้พูดถึงกรณี บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ได้ยื่นหนังสือถึง พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กรณีการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) โดยให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เร่งชี้แจงทำความเข้าใจกรณีที่เปิดประกวดราคาใหม่ เพราะการที่บีทีเอสไปยื่นหนังสือถึงนายกฯ อาจทำให้คนจะมองว่ามีการทำอะไรไม่ถูกต้องหรือไม่

ขณะนี้นายกฯ ยังไม่มีข้อสั่งการใดๆ มายังกระทรวงคมนาคม ทั้งนี้ได้กำชับ รฟม.ดำเนินการโดยยึดตามระเบียบและข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เพื่อสามารถอธิบายได้อย่างชัดเจนว่าได้ดำเนินการตามระเบียบอย่างไรบ้าง ซี่งในการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนนั้น การจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน (RFP) เป็นอำนาจของคณะกรรมการตามมาตรา 36 แห่ง พ.ร.บ.ร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ซึ่ง รมว.คมนาคมไม่มีอำนาจสั่งการใดๆ

สำหรับกรณีที่ บมจ.บีทีเอสซียื่นศาลปกครองกลางขอให้มีคำสั่งเพิกถอนประกาศหลักเกณฑ์การประมูลใหม่ หลัง รฟม.มีการเปิดประมูลไปแล้ว ในคดีหมายเลขดำที่ 2280/2563 คดีหมายเลขแดงที่.../25.. ล่าสุดศาลได้มีคำสั่งจำหน่ายคดีบางข้อหาเพราะเหตุแห่งการฟ้องคดีบางข้อหาหมดสิ้นไป ลงวันที่ 5 มีนาคม 2564 ทั้งนี้ ผู้มีส่วนได้เสียมีสิทธิยื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งจำหน่ายคดีบางข้อหา เพราะเหตุแห่งการฟ้องคดีบางข้อหาหมดสิ้นไปต่อศาลปกครองสูงสุด ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งศาล

ทั้งนี้ ยังเหลือประเด็นที่ศาลยังต้องพิจารณาต่อไป คือ กรณี บมจ.บีทีเอสซี ขอให้ศาลสั่งให้ รฟม.ชดใช้ค่าเสียหายจำนวน 500,000 บาท จากการจ้างที่ปรึกษาทางด้านเทคนิคในการยื่นประมูลโครงการนั้นซึ่งขึ้นกับการพิจารณา

@รฟม.ยันเดินหน้าประมูลใหม่ ยันเน้นเทคนิคก่อสร้างเพื่อความปลอดภัยสูงสุด

นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าฯ รฟม. กล่าวว่า จากที่ รฟม.ได้ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลปกครองสูงสุด และศาลได้พิจารณาเห็นว่าเหตุแห่งการฟ้องคดี รวมถึงเหตุแห่งการพิจารณาเกี่ยวกับการขอทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครองไม่มีอยู่ต่อไป และคดีนี้มิได้เป็นคดีที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ การพิจารณาคดีต่อไปไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม

ต่อมาวันที่ 9 ก.พ. 2564 คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ และ รฟม.ได้ยื่นคำร้องชี้แจงข้อเท็จจริงและขอให้จำหน่ายคดี และศาลปกครองกลางได้มีคำสั่ง ฉบับลงวันที่ 5 มี.ค. 2564 จำหน่ายคดีในข้อหาที่ฟ้องขอให้เพิกถอนหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้เหตุผลว่าเหตุแห่งการฟ้องคดีตามคำขอที่ขอให้ศาลเพิกถอนคำสั่งพิพาทหมดสิ้นไป ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลต้องมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพื่อออกคำบังคับตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ต่อไปอีก และศาลยังได้มีคำสั่งให้คำสั่งศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2563 ที่ให้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 สิ้นผลบังคับลงไปด้วย

ทั้งนี้ จากที่ รฟม.ได้ยกเลิกประกาศเชิญชวนการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2564 และได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนฯ ขึ้นใหม่อีกครั้ง ตามขั้นตอนใน พ.ร.บ.การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ส่วนที่ 2 (การคัดเลือกเอกชน) ตามมาตรา 35 ซึ่งระบุให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำร่างประกาศเชิญชวนร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน (RFP) และร่างสัญญาร่วมลงทุน เสนอต่อคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ

โดยมีการเปิดรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง (Opinion Hearing) และนำความคิดเห็นมาพิจารณาประกอบการจัดทำเอกสาร ซึ่ง รฟม.ดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน พ.ศ. 2563

ซึ่งจะรับฟังความคิดเห็นของเอกชน ระหว่างวันที่ 2-16 มีนาคม 2564 โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกนั้น รฟม.เห็นว่าจำเป็นต้องคำนึงถึงสภาพพื้นที่เส้นทางโครงการฯ ที่เอกชนผู้ร่วมลงทุนต้องดำเนินการด้วยเทคนิคก่อสร้างที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด จึงกำหนดวิธีประเมินคะแนนด้านเทคนิคและคุณภาพควบคู่คะแนนด้านผลตอบแทนและการลงทุน (Price-Performance) ซึ่งสอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และสาระสำคัญของร่างสัญญาฯ พ.ศ. 2563 โดยในข้อ 4(8) ที่ให้กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ให้ระบุหลักเกณฑ์และวิธีการตัดสินเป็นคะแนนในทุกด้านทั้งด้านคุณภาพและด้านราคา

และช่วงปลายเดือน มี.ค.นี้จะนำร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาฯ รวมถึงผลการรับฟังความคิดเห็น เสนอคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนพิจารณาเห็นชอบฯ ตามหน้าที่และอำนาจในมาตรา 38 ต่อไป คาดว่าจะเปิดขายเอกสารประกวดราคาในเดือน เม.ย. 2564 ให้เอกชนจัดทำข้อเสนอเดือน พ.ค.-มิ.ย. 2564 จากนั้นจะประเมินข้อเสนอและได้ตัวผู้รับจ้างภายในเดือน ก.ค. 2564 และเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบผลการเจรจาภายในเดือน ส.ค. 2564 คาดว่าจะเปิดให้บริการสายสีส้มตะวันออกช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ในปี 2567 และด้านตะวันตก ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-บางขุนนนท์ ปี 2569

“การยกเลิกประมูลโดยไม่รอคำตัดสินของศาลเพื่อเร่งรัดโครงการ โดยขณะนี้การเปิดประมูลใหม่คาดว่าจะทำให้ล่าช้าจากกำหนดการเดิมประมาณ 1 เดือน ซึ่งประเมินผลกระทบน้อยกว่าหากเทียบกับการรอให้คดีสิ้นสุดที่ต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการกว่า 1 ปี ส่วนเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน ด้านราคา 70 คะแนน เห็นว่าจะเป็นประโยชน์ต่อโครงการและ รฟม.มากที่สุด ซึ่ง รฟม.จะสรุปความเห็นเอกชนเสนอ กก.มาตรา 36 พิจารณาเห็นชอบ อย่างไรก็ตาม กรณีที่ประมูลแล้วมีเอกชนยื่นข้อเสนอ เพียงรายเดียวตาม พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ สามารถเจรจาได้”

รฟม.โล่งหลังศาลจำหน่ายคดีปมสายสีส้มเดินหน้าเปิดประมูล เม.ย.นี้

วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 22:38 น.



9 มี.ค.64-นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.) เปิดเผยถึงความคืบหน้าในการดำเนินการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ว่ารฟม. ได้ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแล้วเห็นว่า เหตุแห่งการฟ้องคดี รวมถึงเหตุแห่งการพิจารณาเกี่ยวกับการขอทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครองไม่มีอยู่ต่อไป และคดีนี้มิได้เป็นคดีที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ การพิจารณาคดีต่อไปไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม

ทั้งนี้ต่อมาต่อมาเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ และ รฟม. ได้ยื่นคำร้องชี้แจงข้อเท็จจริงและขอให้จำหน่ายคดีต่อศาลปกครองกลาง และศาลปกครองกลางได้มีคำสั่ง ฉบับลงวันที่ 5 มีนาคม 2564 จำหน่ายคดีในข้อหาที่ฟ้องขอให้เพิกถอนหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้เหตุผลว่า เหตุแห่งการฟ้องคดีตามคำขอที่ขอให้ศาลเพิกถอนคำสั่งพิพาทหมดสิ้นไป ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลต้องมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพื่อออกคำบังคับตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 ต่อไปอีก และศาลยังได้มีคำสั่งให้ คำสั่งศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2563 ที่ให้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 สิ้นผลบังคับลงไปด้วย

สำหรับเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกเอกชนนั้น รฟม.ยังคงยืนยันที่จะพิจารณาทั้งจากด้านเทคนิค 30% ควบคู่กับผลตอบแทนการลงทุนอีก 70% เนื่องจากสภาพพื้นที่เส้นทางโครงการมีอาคารอนุรักษ์อยู่เป็นจำนวนมาก ต้องดำเนินการด้วยเทคนิคก่อสร้างที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด แต่อย่างไรก็ตามเอกชนสามารถเสนอความคิดเห็นมาได้ ไม่ว่าจะเป็นเสนอราคาอย่างเดียวหรือจะใช้สัดส่วนด้านเทคนิคและราคาเป็นเท่าไหร่

นายภคพงศ์ กล่าวว่า สำหรับการล้มประมูลครั้งแรก เพื่อเร่งเปิดประมูลใหม่ในครั้งที่ 2โดยไม่รอคำตัดสินของศาลนั้ยนอมรับว่าอาจจะทำให้โครงการล่าช้า กว่ากำหนด 1เดือน แต่หากรอผลการพิจารณาของศาล อาจจะทำให้เกิดความล่าช้า 1ปี ซึ่งอาจสร้างความเสียหายมากกว่า สำหรับขั้นตอนต่อไป หลังจากศาลปกครองกลางมีคำสั่งทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 สิ้นผลบังคับลงไปด้วยรฟม.จะออกประกาศเชิญชวนภายในเดือน เม.ย.64 หลังจากนั้นจะขายเอกสาร RFP และเปิดให้เอกชนยื่นข้อเสนอ ในเดือน มิ.ย. และประเมินข้อเสนอ และประกาศผลได้ข้อสรุปภายในเดือน ก.ค. ทั้งนี้แม้จะมีผู้ยื่นเสนอรายเดียวก็สามารถดำเนินการได้ และคาดว่าจะเสนอคณะรัฐมนตรี(ครม.)พิจารณา ภายในเดือน ส.ค.นี้ เพื่อเห็นชอบผลการเจรจา

“โดยการยกเลิกการประมูลและเปิดประมูลใหม่จะช่วยให้การดำเนินโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มทำได้เร็วกว่าการรอคำสั่งศาลที่คาดว่าจะใช้เวลา 1 ปี ซึ่งตามขั้นตอนศาลแล้วจะต้องมีการอุทธรณ์ของคู่กรณี แต่การเปิดประมูลใหม่เบื้องต้นล่าช้ากว่ากำหนดราว 1 เดือนเท่านั้น ศาลได้สั่งให้จำหน่ายคดีนี้แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องรอผลคำพิพากษา ถือว่า คำสั่งขอคุ้มครองฉุกเฉินให้ใช้เกณฑ์คัดเลือก ก่อน รฟม แก้ไข สิ้นผลบังคับใช้ไปด้วย ถือว่าคดีสิ้นสุดแล้ว รฟม จึงสามารถเดินหน้าประมูลครั้งใหม่ต่อไปได้” นานภคพงศรกล่าว

สำหรับโครงการสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้มช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) มีแนวเส้นทางเชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครทิศตะวันออกและทิศตะวันตกระยะทาง 35.9 กิโลเมตรแบ่งเป็นส่วนตะวันออกช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มีนบุรี ระยะทาง 22.5 กิโลเมตรจำนวน 17 สถานี (สถานีใต้ดิน 10 สถานี และสถานียกระดับ 7 สถานี) และส่วนตะวันตกช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ระยะทาง 13.4 กิโลเมตร จำนวน 11 สถานี (สถานีใต้ดินตลอดสาย) คาดว่าจะเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันตก ช่วงบางขุนนนท์-สุวินทวงศ์ ในปี 2567 และรถไฟฟ้าสายสีสัมตะวันออก ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ในปี 2569
คดีประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้มโมฆะ
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 18:55 น.

รฟม.เดินหน้าชี้แจงคดีรถไฟฟ้าสายสีส้ม หลังศาลปกครองสั่งจำหน่ายคดีประมูลรอบแรก เหตุล้มประมูลโครงการฯ เล็งขายซองทีโออาร์ เม.ย.นี้

นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เปิดเผยถึงความคืบหน้าในการดำเนินการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) หลังจากรฟม. ได้ออกประกาศยกเลิกประกาศเชิญชวนการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ล่าสุดรฟม. ได้ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแล้วเห็นว่าเหตุแห่งการฟ้องคดี รวมถึงเหตุแห่งการพิจารณาเกี่ยวกับการขอทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครองไม่มีอยู่ต่อไป และคดีนี้ไม่ได้เป็นคดีที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ การพิจารณาคดีต่อไปไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม ศาลปกครองสูงสุดจึงมีคำสั่งอนุญาตให้คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ และ รฟม. ถอนอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าว ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ และ รฟม. ได้ยื่นคำร้องชี้แจงข้อเท็จจริงและขอให้จำหน่ายคดีต่อศาลปกครองกลาง และศาลปกครองกลางได้มีคำสั่ง ฉบับลงวันที่ 5 มีนาคม 2564 จำหน่ายคดีในข้อหาที่ฟ้องขอให้เพิกถอนหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้เหตุผลว่า



เหตุแห่งการฟ้องคดีตามคำขอที่ขอให้ศาลเพิกถอนคำสั่งพิพาทหมดสิ้นไป ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลต้องมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพื่อออกคำบังคับตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ต่อไปอีก และศาลยังได้มีคำสั่งให้ คำสั่งศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2563 ที่ให้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 สิ้นผลบังคับลงไปด้วยขณะเดียวกันรฟม. ได้ออกประกาศการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนประกอบการพิจารณาจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2564 โดยในส่วนของหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกเอกชนนั้น รฟม. เห็นว่า จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาพพื้นที่เส้นทางโครงการฯ ที่เอกชนผู้ร่วมลงทุนต้องดำเนินการด้วยเทคนิคก่อสร้างที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุดจึงกำหนดวิธีประเมินคะแนนด้านเทคนิคและคุณภาพควบคู่คะแนนด้านผลตอบแทนและการลงทุน (Price-Performance) ซึ่งสอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และสาระสำคัญของร่างสัญญาฯ พ.ศ. 2563 โดยในข้อ 4(8) ที่ให้กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ให้ระบุหลักเกณฑ์และวิธีการตัดสินเป็นคะแนนในทุกด้านทั้งด้านคุณภาพและด้านราคา
นอกจากนี้การรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน เป็นเพียงการรวบรวมความเห็นของเอกชนเพื่อนำมาใช้ประกอบในการปรับปรุงร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาฯ ตามที่ รฟม. เห็นสมควร โดยคำนึงถึงความสำเร็จของโครงการเป็นสำคัญ เท่านั้น เพื่อที่ รฟม. จะนำร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาฯ รวมถึงผลการรับฟังความคิดเห็นดังกล่าว เสนอคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบตามหน้าที่และอำนาจในมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ต่อไป

สำหรับ กระบวนการเปิดประมูลโครงการฯ รอบที่ 2 โดยเริ่มประกาศการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนประกอบการพิจารณาจัดทำร่างประกาศเชิญชวนร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน และร่างสัญญาร่วมลงทุน ระหว่างวันที่ 2-16 มีนาคม 2564 ประกาศเชิญชวนและเปิดขายเอกสารประกวดราคา ในเดือนเมษายน 2564 เอกชนจัดทำข้อเสนอในการประมูลโครงการ ภายในเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2564 หรือประมาณ 60 วัน รฟม.ประเมินข้อเมินข้อเสนอของเอกชนและได้ตัวผู้รับจ้าง ภายในเดือนกรกฎาคม 2564 และเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบผลการเจรจาหลังจากได้ผู้รับจ้างแล้ว ภายในเดือน สิงหาคม 2564 และคาดว่าจะเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันตก ช่วงบางขุนนนท์-สุวินทวงศ์ ในปี 2567 และรถไฟฟ้าสายสีสัมตะวันออก ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ในปี 2569 ทั้งนี้กรณีที่เปิดประมูลใหม่คาดว่าจะทำให้ล่าช้าจากกำหนดการเดิม ประมาณ 1 เดือน ซึ่งดีกว่าเมื่อเทียบกับรอให้คดีสิ้นสุด ที่ต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการกว่า 1 ปี ขณะเดียวกัน สาเหตุที่รฟม. เปิดรับฟังความคิดเห็นใหม่ โดยยึดข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน ด้านราคา 70 คะแนน เพราะรฟม. เล็งเห็นว่าเกณฑ์ดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ต่อโครงการและรฟม. มากที่สุด หากกรณีที่เอกชนต้องการใช้เกณฑ์การประมูลเดิม ทางรฟม. จะต้องนำเกณฑ์ดังกล่าวเสนอต่อบอร์ด ม.36 เช่นกัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับบอร์ดม.36 เป็นผู้พิจารณาเห็นชอบร่างประกาศเชิญชวนร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน (อาร์เอฟพี) ถ้าเอกชนเสนอเพียงรายเดียว ตาม พ.ร.บ. สามารถเจรจาได้ตามปกติ

จบคดี!!ศาลปกครองจำหน่ายคดีข้อพิพาทบีทีเอส & รฟม.
*ศึกประมูลโปรเจ็กท์รถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน
*ผู้ว่าฯ รฟม. ถามไม่ยุติธรรม-ไม่โปร่งใสตรงไหน?
*ย้ำแก้เกณฑ์ประมูลก่อนยื่นซองไม่น้อยกว่า 70 วัน
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2855477318007101


Last edited by Wisarut on 12/03/2021 11:32 pm; edited 2 times in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 10/03/2021 10:32 am    Post subject: Reply with quote

ศาลปกครองจำหน่ายคดี BTS ฟ้องรถไฟฟ้าสายสีส้ม หลังรฟม.ล้มประมูล
อสังหาริมทรัพย์
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 19:47 น.

รฟม.ตั้งโต๊ะแถลงด่วน ปมประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม “บางขุนนนท์-มีนบุรี” หลังศาลปกครองมีคำสั่งจำหน่ายคดีฟ้องเปลี่ยนเกณฑ์ระหว่าง BTSC กับคณะกรรมการคัดเลือก เหตุล้มประมูล จึงไม่มีมูลเหตุให้พิจารณาต่อ รฟม.ลุยประมูลใหม่ ขายซองเม.ย.นี้ พรุ่งนี้บิ๊กบีทีเอสเปิดแถลง

เมื่อวันที่ 9 มี.ค.2564 เวลา17.20 น. นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 5 มี.ค.ที่ผ่านมาศาลปกครองกลางได้มีคำสั่งจำหน่ายคดีบางข้อหาการฟัองร้องระหว่างบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด(มหาชน)หรือBTSC ผู้ฟ้องคดีกับคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา36 แห่งพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ2562 โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี ผู้ถูกฟ้องคดี



เหตุการฟ้องคดีไม่มีอยู่ต่อไป
โดยศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแล้วเห็นว่า เหตุแห่งการฟ้องคดี รวมถึงเหตุแห่งการพิจารณาเกี่ยวกับการขอทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครองไม่มีอยู่ต่อไป และคดีนี้มิได้เป็นคดีที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ การพิจารณาคดีต่อไปไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม ศาลปกครองสูงสุดจึงมีคำสั่งอนุญาตให้คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ และ รฟม. ถอนอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าว

เนื่องจากเมื่อวันที่ 3 ก.พ.2564 รฟม.ได้มีการยกเลิก ประกาศเชิญชวนการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม หลังได้ออกประกาศเมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2563 โดยมีเอกชนยื่นฟ้องต่อศาลปกครองหลังรฟม.เปลี่ยนเกณฑ์การประเมินใหม่ ซึ่งศาลมีคำสั่งทุเลาและรฟม. ได้ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองสูงสุดพิจารณา และได้มีคำสั่ง ฉบับลงวันที่ 5 มี.ค. 2564 จำหน่ายคดีในข้อหาที่ฟ้องขอให้เพิกถอนหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนที่แก้ไขเพิ่มเติม

ไม่มีเหตุพิจารณาต่อ
โดยให้เหตุผลว่า เหตุแห่งการฟ้องคดีตามคำขอที่ขอให้ศาลเพิกถอนคำสั่งพิพาทหมดสิ้นไป ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลต้องมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพื่อออกคำบังคับตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ต่อไปอีก และศาลยังได้มีคำสั่งให้ คำสั่งศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2563 ที่ให้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์ที่แก้ไขเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงเอกสารการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 สิ้นผลบังคับลงไปด้วย

ปัจจุบัน รฟม. ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนฯ ใหม่อีกครั้ง ตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ2562 ส่วนที่ 2 (การคัดเลือกเอกชน) โดยเริ่มตั้งแต่มาตรา 35 ระบุให้ หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน (RFP) และร่างสัญญาร่วมลงทุน เสนอต่อคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ

โดยให้หน่วยงานเจ้าของโครงการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง (Opinion Hearing) และนำความคิดเห็นดังกล่าวมาพิจารณาประกอบการจัดทำเอกสาร ซึ่งวิธีการและขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนดังกล่าว รฟม. ดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน พ.ศ. 2563

เดินหน้าประมูลเกณฑ์ใหม่
โดยเนื้อหาที่เปิดรับฟังหลักๆ ประกอบด้วย สาระสำคัญของร่างประกาศเชิญชวน สาระสำคัญของร่างเอกสาร RFP และสาระสำคัญของร่างสัญญาร่วมลงทุน

ซึ่งในส่วนของหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกเอกชนได้กำหนดวิธีประเมินคะแนนด้านเทคนิคและคุณภาพควบคู่คะแนนด้านผลตอบแทนและการลงทุน (Price-Performance) ซึ่งสอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และสาระสำคัญของร่างสัญญาฯ พ.ศ. 2563 โดยในข้อ 4(8) ที่ให้กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ให้ระบุหลักเกณฑ์และวิธีการตัดสินเป็นคะแนนในทุกด้านทั้งด้านคุณภาพและด้านราคา


ไม่ต้องเสนอครม.ยื่นซองมิ.ย.
“การรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน เป็นเพียงการรวบรวมความเห็นนำมาใช้ประกอบในการปรับปรุงร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาฯ ตามที่ รฟม. เห็นสมควร เพื่อเสนอคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบปลายเดือนมี.ค.นี้ และการดำเนินการเป็นอำนาจของคณะกรรมการมาตรา36 ไม่ต้องขออนุมัตคณะรัฐมนตรี”

นายภคพงศ์กล่าวอีกว่า คาดว่าจะออกประกาศเชิญชวนในเดือนเม.ย. จากนั้นให้เวลาเอกชนทำข้อเสนอ 60 วันยื่นซองประมูลเดือนมิ.ย.และได้เอกชนผู้ชนะเดือนก.ค.และเสนอคณะรัฐมนตรี(ครม.)อนุมัติเดือนส.ค.นี้

อย่างไรก็ตาม แม้การประมูลครั้งนี้จะมีเอกชนรายเดียวยื่นข้อเสนอก็สามารถพิจารณาข้อเสนอต่อไปจนจบได้เนื่องจากพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ ให้สามารถดำเนินการได้


เหลือคดีฟ้องเรียกค่าเสียหาย
แหล่งข่าวจากกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า ได้รับทราบมาว่า ศาลปกครองกลางมีคำสั่งจำหน่ายคดีที่ บมจ.ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTSC)ยื่นฟ้องคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่งพ.ร.บ.ร่วมทุน 2562 โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน ฐานแก้ไขทีโออาร์ในส่วนหลักเกณฑ์ที่เป็นสาระสำคัญของทีโออาร์ จากเดิมที่กำหนดให้ผู้ที่ผ่านคุณสมบัติซองเทคนิค และเสนอผลตอบแทนให้แก่ภาครัฐสูงสุดจะเป็นผู้ชนะประมูล แต่หลักเกณฑ์ใหม่ให้นำซองเทคนิคและซองราคามาพิจารณาร่วมกัน

โดยกำหนดสัดส่วนซองคะแนนเทคนิคที่ 30 คะแนน และซองราคาที่ 70 คะแนน ทำให้ได้เกิดการได้เปรียบและเสียเปรียบ โดยได้จำหน่ายคดีไปเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2564 ที่ผ่านมา คงเหลือเพียงคดีที่ BTSC ฟ้องร้องให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ชดใช้ค่าเสียหายจำนวน 500,000 บาท จากการจ้างที่ปรึกษาด้านเทคนิค เพื่อยื่นในโครงการดังกล่าวเท่านั้น

รู้เรื่อง ”คีรี” ยื่นหนังสือถึง ”ประยุทธ์” แล้ว
ส่วนกรณีที่นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการของ บมจ.บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ ส่งหนังสือถึงพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ให้ระงับการประมูลโครงการไปจนกว่าศาลจะมีคำพิพากษา เบื้องต้น นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ได้เห็นหนังสือดังกล่าวแล้ว แต่เห็นจากคนอื่น นายกฯไม่ได้ส่งหนังสือนี้ให้อ่านโดยตรง และท่านรัฐมนตรีระบุว่า ท่านนายกฯไม่ได้พูดหรือหารืออะไรเกี่ยวกับประเด็นนี้

พรุ่งนี้บีทีเอสเปิดแถลง
ส่วนที่ BTSC จะจัดแถลงข่าวกรณีสายสีส้มในวันพรุ่งนี้ (10 มี.ค. 2564) แหล่งข่าวกล่าวว่า นายศักดิ์สยามรับทราบแล้ว ก็มองว่าเป็นสิทธิ์ของบริษัทจะแถลง ส่วนการเรียกร้องให้ รฟม. ระงับการประมูล คงไม่มีอำนาจไปสั่งได้ เพราะเป็นอำนาจของคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ในการดูแลโครงการดังกล่าว แล้วตอนนี้ทางเอกชนดังกล่าวก็ไปฟ้องศาลเพิ่มอีก ก็ให้ศาลตัดสินไป แล้วในการร่างข้อเสนอให้เอกชนร่วมลงทุน (RFP : Request for Proposal) แบบนี้ ไม่ได้มีเฉพาะสายสีส้ม แต่โครงการอื่นๆก็เคยปรากฏการทำ RFp ในลักษณะนี้มาแล้วเช่นกัน

สำหรับรถไฟฟ้าสายสีส้ม รฟม.เปิดให้เอกชนร่วม PPP net cost 30 ปี วงเงิน 128,128 ล้านบาท สร้างช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรม เป็นงานใต้ดินตลอดสาย จัดหาระบบ เก็บค่าโดยสาร รับสัมปทานเดินรถและบำรุงรักษาโครงการตลอดสายบางขุนนนท์-มีนบุรี โดยรัฐจะเวนคืนให้ 14,611 ล้านบาท สนับสนุนเงินลงทุนเอกชนไม่เกินค่างานโยธา 96,012 ล้านบาท

โดยช่วงศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี สร้างคืบหน้าแล้ว77.77% ตามแผนจะเปิดบริการปี2567 ส่วนช่วงศูนย์วัฒนธรรม-บางขุนนนท์ เปิดในปี2569

Wisarut wrote:
ศาลจำหน่ายคดี“บีทีเอสซี”ขอถอนประกาศปมรถไฟฟ้าสายสีส้ม
หน้า ธุรกิจ
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15:12 น.

คดีประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้มโมฆะ
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project
วันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 18:55 น.

จบคดี!!ศาลปกครองจำหน่ายคดีข้อพิพาทบีทีเอส & รฟม.
*ศึกประมูลโปรเจ็กท์รถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน
*ผู้ว่าฯ รฟม. ถามไม่ยุติธรรม-ไม่โปร่งใสตรงไหน?
*ย้ำแก้เกณฑ์ประมูลก่อนยื่นซองไม่น้อยกว่า 70 วัน
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2855477318007101
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 10/03/2021 10:50 am    Post subject: Reply with quote

รถไฟฟ้า"สีส้ม"เจาะอุโมงค์ทะลุสถานีรามคำแหงแล้ว!!
อังคารที่ 9 มีนาคม 2564 เวลา 13.26 น.

รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีส้มตะวันออก ขุดเจาะอุโมงค์ทะลุถึงสถานีรามคำแหงแล้ว “ซีเคเอสที” สร้างสถิติดีที่สุดในการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินของไทย พร้อมเปิดบริการปี 67

กองประชาสัมพันธ์ สำนักสื่อสารองค์กร การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) แจ้งว่า นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ส่วนตะวันออก) ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร รฟม. ลงพื้นที่ โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ เพื่อตรวจเยี่ยมและร่วมบันทึกภาพความสำเร็จของงานขุดเจาะอุโมงค์ตัวที่ 3 “หัวเจาะบูรพาทรัพย์” ที่เจาะทะลุ (TBM Final breakthrough) จากสถานีหัวหมากเข้าสู่สถานีรามคำแหงอย่างเป็นทางการ ซึ่งดำเนินการโดย กิจการร่วมค้าซีเคเอสที ผู้รับจ้างงานโยธาอุโมงค์ทางวิ่งและสถานีใต้ดิน สัญญาที่ 1 ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – รามคำแหง 12 และสัญญาที่ 2 ช่วงรามคำแหง 12 – หัวหมาก ณ สถานีรามคำแหง ถนนรามคำแหง



สำหรับงานขุดเจาะอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน จากสถานี รฟม. ถึงสถานีหัวหมาก มีระยะทางรวมทั้งสิ้น 13.3 กิโลเมตร (กม.) โดยใช้ชุดหัวเจาะทั้ง 3 ตัว ได้แก่ หัวขุดเจาะที่ 1 “หัวเจาะบูรพาชัย” ดำเนินการขุดเจาะจากสถานี รฟม. – สถานีรามคำแหง เมื่อวันที่  21 พ.ค.62 – 20 ธ.ค.63, หัวขุดเจาะที่ 2 “หัวเจาะบูรพาโชค” ดำเนินการขุดเจาะจากสถานี รฟม. – สถานีรามคำแหง เมื่อวันที่ 15 ก.ค.62 – 26 ก.พ.64 และหัวขุดเจาะที่ 3 “หัวเจาะบูรพาทรัพย์” ดำเนินการขุดเจาะจากสถานีหัวหมาก – สถานีรามคำแหง เมื่อวันที่ 12 มี.ค.63 – 6 มี.ค.64


นอกจากนี้ การดำเนินขุดเจาะของหัวขุดเจาะบูรพาทรัพย์ดังกล่าว ยังถือเป็นสถิติที่ดีที่สุดของการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินของประเทศไทย โดยสามารถประกอบผนังอุโมงค์ความยาว 1.4 เมตรได้ถึง 34 วงต่อวัน คิดเป็นระยะทาง 47.6 เมตร ทั้งนี้ โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ  มีความก้าวหน้าก่อสร้างงานโยธาในภาพรวม ณ สิ้นเดือน ก.พ.64 คิดเป็น 77.77% และมีกำหนดเปิดให้บริการในปี 67 ถือเป็นโครงการรถไฟฟ้าสายแรกที่เชื่อมโยงกรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออกสู่ใจกลางเมือง ทั้งยังเป็นเส้นทางที่จะเติมเต็มโครงข่ายรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น.




Wisarut wrote:
หัวเจาะสีส้มเจาะใต้ดินทะลุสถานี “หัวหมาก-รามคำแหง” แล้ว
โดย: ผู้จัดการออนไลน์
เผยแพร่: วันที่ 9 มีนาคม 2564 เวลา 13:18 น.
ปรับปรุง:วันที่ 9 มีนาคม 2564 เวลา 13:18 น.



รฟม. ฉลองความสำเร็จ สร้างสถิติดีที่สุดในการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินสถานีหัวหมาก – สถานีรามคำแหง โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ส่วนตะวันออก) ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – มีนบุรี (สุวินทวงศ์)
Cr : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
วันที่ 9 มีนาคม 2564 เวลา 12:39 น.

รถไฟฟ้าสีส้มตะวันออกเจาะอุโมงค์ทะลุสถานีรามคำแหงแล้ว
*”ซีเคเอสที” สร้างสถิติดีที่สุดในการก่อสร้างฯ
*พร้อมเปิดปี 67 เชื่อมตะวันออกสู่ใจกลางเมือง
https://www.facebook.com/MRTA.PR/posts/2741706659379384
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2855299188024914
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 11/03/2021 10:31 am    Post subject: Reply with quote

"บีทีเอส" เปิดข้อพิรุธประมูล"สายสีส้ม"จ่อยื่นอุทรณ์ต่อ
พุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 18.19 น.

 “บีทีเอส” เปิดข้อพิรุธประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน จ่อฟ้องศาลปกครองเพิ่มอีก หลังพบ รฟม. ยกเลิกประมูล-รับฟังความเห็นรอบใหม่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เตรียมยื่นอุทธรณ์ศาลปกครองสูงสุดไม่เห็นด้วยจำหน่ายคดี ยันคดียังไม่จบ รอศาลสั่งให้ รฟม.ชดใช้ค่าเสียหาย 5 แสนบาท แย้มมีไม้เด็ดคดีอาญา


เมื่อวันที่ 10 มี.ค. ที่โรงแรมอีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพฯ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี พร้อมด้วย พ.ต.อ.สุชาติ วงศ์อนันต์ชัย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) ร่วมแถลงข่าวความคืบหน้าเรื่อง “การดำเนินงานรถไฟฟ้าสายสีส้ม” พร้อมชี้แจงกรณีที่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ระบุว่า ได้รับคำสั่งจากศาลปกครองกลาง ซึ่งศาลฯ ได้จำหน่ายคดีในข้อหาที่ฟ้องขอให้เพิกถอนหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนที่แก้ไขเพิ่มเติม พร้อมทั้งยังมีคำสั่งให้คำสั่งศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 19 ต.ค.63 ที่ให้ทุเลาการบังคับตามหลักเกณฑ์ที่แก้ไขเพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงเอกสารการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 สิ้นผลบังคับลงไปด้วย
               
นายสุรพงษ์ กล่าวว่า การจำหน่ายคดีเป็นแค่บางส่วนของคดีไม่ใช่ทั้งหมด ดังนั้นการพิจารณาคดีของศาลปกครองกลางยังคงอยู่ ยังไม่ใช่ข้อยุติ เพราะยังมีประเด็นที่ขอให้ศาลสั่งให้ รฟม.ชดใช้ค่าเสียหาย 500,000 บาท จากการจ้างที่ปรึกษาด้านเทคนิคในการยื่นประมูลโครงการตามเกณฑ์ใหม่ ซึ่งไม่อยากเรียกแพง เพราะไม่อยากได้เงิน อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ทีมฝ่ายกฎหมายของบีทีเอสอยู่ระหว่างพิจารณายื่นอุทธรณ์ไปยังศาลปกครองสูงสุด เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการจำหน่ายคดี โดยจะยื่นต่อศาลปกครองสูงสุดภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่ 5 มี.ค.64 ที่ศาลปกครองกลางมีคำสั่ง
  
            


นายสุรพงษ์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้บีทีเอสซียังได้ฟ้องต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลางด้วย เนื่องจากมีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำโดยมิชอบ ซึ่งในวันที่ 15 มี.ค.นี้ ศาลจะพิจารณาว่าจะรับคำฟ้องหรือไม่ หากรับก็จะเข้าสู่กระบวนการไต่สวนต่อไป ขณะเดียวกันบีทีเอสซียังเตรียมพิจารณายื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางเพิ่มเติม กรณียกเลิกประกวดราคา และการออกประกาศรับฟังความคิดเห็นโครงการฯ รอบใหม่โดยมิชอบด้วยกฎหมายด้วย อย่างไรก็ตาม สิ่งที่บริษัทฯ ทำทุกวันนี้เหนื่อยพอสมควร เราไม่ได้ทำเพื่อให้เราได้โครงการนี้ แต่ทำเพื่อต้องการให้เป็นการประมูลที่ถูกต้องยุติธรรม สร้างความเชื่อมั่นให้กับประเทศ และเป็นบรรทัดฐานที่ดีในการประมูลของประเทศต่อไป
              
นายสุรพงษ์ กล่าวอีกว่า ส่วนกรณีจะเข้าร่วมประมูลรอบใหม่หรือไม่ ขอดูรายละเอียดการประมูล (ทีโออาร์) รวมถึงเกณฑ์การให้คะแนนก่อนว่าใช้ดุลพินิจในการตัดสินการประมูลมากน้อยเพียงใด เรื่องนี้ต้องเสนอให้คณะกรรมการ (บอร์ด) บริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาด้วย ส่วนพันธมิตรที่จะร่วมประมูลนั้นยังคงจับมือกับบริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) เหมือนเดิม แต่จะเพิ่มพันธมิตรใหม่หรือไม่นั้น ต้องขอดูทีโออาร์ก่อน ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีจุดยืนเหมือนเดิมที่ไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การตัดสินผู้ชนะประมูลจากด้านเทคนิค 30 คะแนน และราคา 70 คะแนน ยืนยันว่าหลักเกณฑ์เดิมที่พิจารณาทีละซองข้อเสนอ และสุดท้ายตัดสินที่ราคา 100 คะแนนเป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด
              
ด้าน พ.ต.อ.สุชาติ กล่าวว่า เรื่องนี้เกิดมาหลายเดือนแล้ว และบริษัทฯนิ่งเงียบมาตลอด แต่จนถึงขณะนี้เริ่มมีการเบี่ยงเบนข้อเท็จจริง บางเรื่องทำให้บีทีเอสซีได้รับความเสียหาย จึงถึงเวลาแล้วที่ต้องนำความจริง และข้อพิรุธทั้งหมดมาเปิดเผยให้สังคมได้พิจารณาว่าบีทีเอสซีเป็นผู้ถูกกระทำมาโดยตลอด ซึ่งข้อพิรุธ อาทิ การสั่งการต่างๆ โดยที่ตัวเองไม่ได้มีอำนาจ และการจะส่งหนังสือไปให้ใครทำอะไรต้องอ้างกฎหมายด้วย นอกจากนี้ตาม พ.ร.บ.การร่วมลงทุนระหว่างรับและเอกชน พ.ศ. 2562 ก็ระบุชัดว่า การจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การประมูลได้ ต้องเนื่องมาจากเปิดประมูลแล้วไม่มีเอกชนรายใดมายื่นประมูล หรือมายื่นแล้วแต่ไม่มีเอกชนรายใดผ่านคุณสมบัติ จากนั้นให้รับฟังความคิดเห็นจากเอกชนอีกครั้ง และจึงประกาศเชิญชวนใหม่ ที่สำคัญถ้าต้องเปลี่ยนสาระสำคัญของเกณฑ์จะต้องเสนอ ครม.พิจารณาด้วย
              

พ.ต.อ.สุชาติ กล่าวต่อว่า บริษัทฯ ต่อสู้มายาวนานกว่าครึ่งปีแล้ว ที่ต้องฟ้องร้อง เพราะทำไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งถ้าเกณฑ์ตัดสินจากราคาและเทคนิคเป็นเกณฑ์ที่ดีจริง เหตุใดจึงไม่กำหนดเกณฑ์นี้ตั้งแต่การประมูลครั้งแรก ซึ่งถ้ากำหนดตั้งแต่แรกก็จะไม่มีเหตุการณ์แบบนี้ วันนี้อย่ามาพูดเรื่องเกณฑ์ที่ตัดสินด้วยราคา และเทคนิค ใครเป็นคนสั่งท่าน ใครได้ประโยชน์ ท่านไม่กลัวหรือ การฟ้องร้องครั้งนี้ไม่ใช่เกิดขึ้นเพราะการแบ่งเค้กไม่ลงตัวอย่างที่เป็นข่าวแน่นอน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังมีหลักฐานเด็ดที่จะนำไปใช้กับคดีอาญาทุจริต แต่จะเป็นเรื่องใดนั้นยังไม่ขอเปิดเผย
           
 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม แบ่งเป็น ตะวันออก (ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ระยะทาง 22.5 กม. จำนวน 17 สถานี (สถานีใต้ดิน 10 สถานี และสถานียกระดับ 7 สถานี) และส่วนตะวันตก (ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย) ระยะทาง 13.4 กม. จำนวน 11 สถานี (สถานีใต้ดินตลอดสาย) วงเงินรวมประมาณ 1.2 แสนล้านบาท 


ด่วน บีทีเอส ยื่นฟ้องเพิ่ม 3 คดี หลังรฟม.ประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม รอบ 2
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project
พุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 17:22 น.

บีทีเอส เดินหน้าฟ้องศาลปกครองสูงสุด เพิ่ม 3 คดีหลังรฟม.ล้มประมูล-ยื่นถอนอุทธรณ์ โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม เล็งเอาผิดเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง

นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอส เปิดเผยถึงความคืบหน้าการดำเนินงานรถไฟฟ้าสายสีส้มว่า ขณะนี้ บริษัทฯ จำเป็นต้องยื่นฟ้อง ผู้ว่าการ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ เป็นคดีอาญาต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ในฐานความผิดเจ้าพนักงานปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต่อมา วันที่ 1 มีนาคม 2564 ระหว่างรอฟังคำพิพากษาของศาลปกครองกลางและการดำเนินกระบวนการทางอาญาของศาลอาญาคคีทุจริตและประพฤติมิชอบกลางที่บริษัทฯ ฟ้อง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ว่าได้กระทำความผิด รฟม. โดย นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. ได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนด้วยการประกาศรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนใหม่ ผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ของ รฟม. มีสาระสำคัญของวิธีการประเมินข้อเสนอ ดังนี้ การพิจารณาข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 โดย รฟม. จะประเมินข้อเสนอซองที่ 2 และซองที่ 3 เป็นคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งสัดส่วนเป็นคะแนนข้อเสนอซองที่ 2 ข้อเสนอด้านเทคนิค 30 คะแนน และคะแนนข้อเสนอซองที่ 3 ข้อเสนอด้านการลงทุนและผลตอบแทน 70 คะแนน และนำคะแนนซองที่ 2 และซองที่ 3 ของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายมารวมกัน และผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้คะแนนรวมสูงที่สุดจะเป็นผู้ผ่านการประเมินสูงสุด ซึ่งโดยหลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอในข้างต้น เป็นหลักเกณฑ์เดียวกับหลักเกณฑ์ที่ศาลปกครองกลางมีคำสั่งไม่ให้ รฟม. นำมาใช้บังคับในการคัดเลือกเอกชน โดยศาลปกครองกลางชี้ว่า "การเปลี่ยนแปลงวิธีการประเมินข้อเสนอในเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน เล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ และการออกเอกสาร สำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 น่าจะเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย





ขณะเดียวกันบีทีเอสมีสิทธิยื่นฟ้องเพิ่ม 3 คดี ประกอบด้วย
1.กรณีที่รฟม.ยกเลิกการประกวดราคา
2.กรณีรฟม.เปิดรับฟังความคิดเห็นภาคเอกชน เพื่อเตรียมเปิดประมูลโครงการฯ รอบ 2
3.กรณีที่รฟม.ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลฯ ทางบีทีเอสมีสิทธิยื่นฟ้องอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดภายใน 30 วัน หลังศาลปกครองจำหน่ายคดีของรฟม. นายสุรพงษ์ กล่าวต่อว่า จากข้อเท็จจริงข้างต้น จะเห็นได้ว่า ตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐ และเอกชน พ.ศ.2562 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ โดยการออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ก็ดี การยกเลิกประกาศ เชิญชวนฯ ยกเลิกการคัดเลือกเอกชนตามประกาศเชิญชวนฯ รวมถึง การเปิดให้รับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนเพื่อจัดทำร่างเอกสาร มิอาจกระทำได้เช่นที่ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ กำลังดำเนินการอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโครงการฯ และความล่าช้าที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดจากการกระทำของ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีมูลเหตุจูงใจที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือกเอกชนทั้ง ๆ ที่กรรมการผู้แทนสำนักงบประมาณในคณะกรรมการคัดเลือกฯ ที่ร่วมประชุมด้วยได้ทักท้วงแล้วก็ตาม
"เราไม่ต้องการแสดงออกในลักษณะของการโต้แย้งกับหน่วยงานของรัฐผ่านสื่อ เราพยายามร้องขอความเป็นธรรมและดำเนินตามกระบวนการกฎหมายที่มี แต่จนถึงขณะนี้เราพบว่า มีความพยายามเบี่ยงเบนข้อเท็จจริง ซึ่งอาจทำให้บีทีเอสเกิดความเสียหาย ดังนั้น ในวันนี้เราจึงมีความจำเป็นต้องชี้แจงความจริงทั้งหมด สิ่งที่ดำเนินการมา และสิ่งที่กำลังดำเนินการต่อไปเพื่อให้ทุกคนเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง" พ.ต.อ.สุชาติ ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มนั้น เริ่มมีความผิดปกติของการดำเนินการในขั้นตอนที่อยู่ระหว่างการรอยื่นข้อเสนอการร่วมลงทุนในโครงการนี้ ปรากฎว่า มีบริษัทเอกชนที่ร่วมซื้อซองมีหนังสือไปถึง ผู้ว่าการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ขอให้พิจารณาเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การพิจารณาผู้ชนะการประมูล โดยอ้างเหตุผล ถึงหลักเกณฑ์ และความเสี่ยงสูง ของการขุดเจาะอุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งผ่านพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นใน จะต้องใช้เทคนิคการออกแบบทางวิศวกรรมและวิธีการก่อสร้างขั้นสูงเพื่อลดผลกระทบที่มีต่อประชาชนในด้านต่างๆ (ข้อความจาก หนังสือ ITD ส่งถึง สคร.) ต่อมาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การคัดเลือก ซึ่งล้มล้างสิ่งที่หน่วยงานของรัฐทำมาหลายปี ทั้งนี้การกระทำดังกล่าว ชี้ให้เห็นเจตนา และความคิดของหน่วยงานเจ้าของโครงการ ทำให้ บริษัทฯ ต้องทำหนังสือร้องเรียนไปถึง ท่านผู้มีอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบตามกฎหมาย ได้แก่- นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน- ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ในฐานะกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายฯ- ผู้ว่าการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในฐานะหัวหน้าหน่วยงานเจ้าของโครงการ- คณะกรรมการคัดเลือกฯ ซึ่งถูกแต่งตั้งตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ - มีนบุรี (สุวินทวงศ์)- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในฐานะที่กำกับดูแลการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย- คณะกรรมการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทสไทย- นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าคณะรัฐมนตรี ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทุกท่านเมื่อทราบแล้ว จะดำเนินการตรวจสอบ และแก้ไขให้ถูกต้อง

“บีทีเอส”จ่อฟ้องศาลปกครองเพิ่มยกเลิกประมูลมิชอบกฎหมาย
*เตรียมยื่นอุทธรณ์ศาลฯสูงสุดไม่เห็นด้วยจำหน่ายคดี
*ยังไม่เคาะเข้าร่วมชิงรถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน!!
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2856155867939246
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 11/03/2021 1:05 pm    Post subject: Reply with quote

ส่อลากยาว ประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม “BTS” ไม่ถอยจ่อยื่นฟ้องศาลเพิ่ม 3 คดี
อสังหาริมทรัพย์
วันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 20:28 น.


ส่อลากยาว! BTS ตั้งโต๊ะแถลงครั้งแรกปม”รถไฟฟ้าสายสีส้ม” ชำแหละ รฟม.-บอร์ดคัดเลือก 3 ปมไม่ชอบด้วยกฎหมาย”เปลี่ยนเกณฑ์-ยกเลิกประมูล-เปิดรับฟังความเห็นRFPใหม่” ด้าน”สุรพงษ์”เผยจ่อฟ้องเพิ่ม 3 คดี ส่วนการประมูลรอบใหม่ ขอดูเงื่อนไข รอบอร์ดพิจารณา

เมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2564 นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTSC) และ พ.ต.อ.สุชาติ วงศ์อนันต์ชัย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บมจ.บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (BTS) แถลงเรื่องการดำเนินการรถไฟฟ้าสายสีส้มช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี



ย้อน 3 ปม “สายสีส้ม” ไม่ชอบพากล
โดย พ.ต.อ.สุชาติ กล่าวว่า BTS ไม่ได้ต้องการโต้แย้งหรือเป็นคู่กรณีกับรัฐในโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มที่เปิดประมูลPPP วงเงิน 128,128 ล้านบาท แต่เนื่องจากการดำเนินการที่ผ่านของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.)และคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่งพ.ร.บ.ร่วมทุน 2562 (บอร์ดคัดเลือก) ไม่ได้ดำเนินการตามอำนาจทางกฎหมาย แบ่งได้ 3 กรณี

ซัด สคร. ไม่มีอำนาจให้ รฟม.เปลี่ยนเกณฑ์
กรณีแรก การเปลี่ยนหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการเมื่อวันที่ 13 ส.ค. 2563 หลังจากบมจ.อิตาเลี่ยนไทยฯ ทำหนังสือถึงนายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่ารฟม. และนายประภาศ คงเอียด ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ในขณะนั้น ต่อมาผู้อำนวยการ สคร.มีหนังสือถึง รฟม. ว่าอยู่ในอำนาจของคณะกรรมการคัดเลือก ตามมาตรา 36 ของพ.ร.บ.ร่วมทุน 2562

ในข้อเท็จจริงแล้ว ผู้อำนวยการ สคร. ไม่มีสิทธิ์ทำได้ โดยในมาตรา 38 แห่งพ.ร.บ.ร่วมทุน 2562 ไม่ได้ให้อำนาจไว้ ผู้อำนวยการสคร.ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (คนร.) ที่มีนายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานแทนนายกรัฐมนตรี จะต้องเสนอให้ คนร. พิจารณาก่อน แล้วส่งต่อให้คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบต่อในลำดับสุดท้าย จึงจะดำเนินการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ได้

“พ.ร.บ.ร่วมทุน 2562 เป็นกฎหมายที่มีลักษณะการดำเนินการแบบวันเวย์ หรือไปข้างหน้า ไม่มีการย้อนกลับมาดำเนินการภายหลัง “

ดังนั้น การที่ รฟม. จะย้อนกลับมาเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ ซึ่งถือเป็นส่วนที่เป็นสาระสำคัญ จึงยิ่งต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกเอกชน 2563 ข้อที่ 9 ด้วย แต่พบว่าการเปลี่ยนหลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นการดำเนินการก่อนเปิดซองประมูล ดังนั้น จึงไม่มีกฎหมายข้อใดให้อำนาจดำเนินการได้

สุดท้าย รฟม.และคณะกรรมการมาตรา36 ก็ใช้เวลาเพียง 16 วันนับตั้งแต่ที่มีการยื่นจดหมายโดยบมจ.อิตาเลี่ยนไทย ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของโครงการที่มีการศึกษาความเหมาะสมมาตั้งแต่ปี 2554

ถามว่า การเปลี่ยนหลักเกณฑ์ดังกล่าวได้เปิดอ่านรายงานผลการศึกษาเดิมที่มีหรือไม่และการเปลี่ยนหลักเกณฑ์ดังกล่าวถือเป็นการละเมิดผลการศึกษาเดิมที่เคยทำไว้หรือไม่ ซึ่งต่อมา BTSC ได้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางให้พิจารณาคดีนี้ พร้อมกับขอให้มีการทุเลาคำสั่งนี้ แล้วให้กลับไปใช้เกณฑ์การเงินเหมือนเดิม สุดท้าย ศาลมีคำสั่งทุเลา แต่รฟม.ก็ยังอุทธรณ์ต่อ


ยกเลิกโครงการอ้างสิทธิ์ไม่ได้
กรณีที่ 2 การยกเลิกประมูลโครงการ ซึ่งการยกเลิกจะต้องดำเนินการตามพ.ร.บ.ร่วมทุน 2562 จะต้องให้ครม.ในฐานะเจ้าของโครงการพิจารณาก่อน รฟม.เป็นแค่หน่วยงานเจ้าของโครงการ แต่พบว่าไม่มีการระบุถึงในประกาศของรฟม. การที่รฟม.อ้างแต่การใช้สิทธิ์ตาม RFP Addendum จึงทำไม่ได้ เพราะการยกเลิกโครงการต้องอาศัย”อำนาจทางกฎหมาย”ดำเนินการเท่านั้น จะใช้”สิทธิ์”ไม่ได้

“กรณีนี้นำมาสู่การถอนอุทธรณ์คำสั่งทุเลาศาลปกครองสูงสุดของ รฟม. จึงมีข้อสงสัยว่า เหตุใด รฟม. จึงไม่ยอมรอฟังศาลตัดสินก่อน ซึ่งอาจจะออกได้ทั้งเป็นคุณกับ รฟม. คือ ยกเลิกทุเลาคำสั่งศาลปกครองกลางให้ใช้เกณฑ์ใหม่ และเป็นโทษคือยืนตามศาลปกครองกลาง ใช้เกณฑ์ราคาตามเดิม “

กังขารับฟังความเห็นใหม่ใช้กม.อะไร
และกรณีที่ 3 การเปิดรับฟังความเห็น RFP รอบใหม่เมื่อวันที่ 1 มี.ค.2564 ใช้อำนาจอะไรในการเปิดรับฟัง ได้เสนอให้ ครม. ในฐานะเจ้าของพิจารณาก่อนหรือไม่ แล้วการรับฟังความเห็นครั้งใหม่ มีการระบุชัดเจนว่าจะเอาหลักเกณฑ์เทคนิค30คะแนนรวมกับราคา70คะแนนมาเป็นเกณฑ์หลักในการพิจารณา และมีการปรับถ้อยคำ โดยเอาข้อความ”มติของคณะรัฐมนตรี”ออก เหลือเพียงการสงวนสิทธิ์ของรฟม.

เตือนดึงดันต่อ ปีนี้ก็ไม่ได้เซ็น
“หาก รฟม.ยังดันทุรังแบบนี้ เชื่อว่าโครงการนี้ภายในปีนี้ก็ไม่ได้เซ็น เพราะก็จะร้องกันแบบนี้ เมื่อท่าน (รฟม.) เริ่มด้วยความไม่ชอบแล้วไม่เลือกวิธีการทางกฎหมาย เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องของท่านอย่างเดียว เชื่อว่า รฟม.รู้วิธีทำตามกฎหมายแต่ไม่ทำ เพราะถ้าทำจะมีคนถูกสอบและพิจารณาทางอาญาด้วย หากการประมูลแบบนี้หลุดไปถึงขั้นครม.ให้ความเห็นชอบ ความเสีบหายจะไปกันใหญ่” พ.ต.อ.สุชาติกล่าว


ชง 4 ผู้อำนาจระงับประมูล
พ.ต.อ.สุชาติ กล่าวต่อว่า ทั้งนี้BTSจึงได้มีหนังสือถึงบุคคล 4 ราย ประกอบด้วย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและประธาน คนร. , นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และคณะกรรมการ รฟม. ให้สั่งการไปยังผู้ว่ารฟม.และบอร์ดคัดเลือกระงับการดำเนินการดังกล่าวจนกว่าศาลจะมีคำพิพากษา

“ขอยืนยันว่า การที่ BTS ดำเนินการทางคดี ไม่ใช่เพราะแบ่งเค้กไม่ลงตัว แต่ต้องการให้โครงการเข้าสู่การแข่งขันที่เป็นธรรม หาก รฟม. และบอร์ดคัดเลือกเห็นเกณฑ์ราคารวมกับเทคนิคดีจริง ทำไมไม่กำหนดมาตั้งแต่แรก ถ้าทำตั้งแต่แรกจะไม่มีเกตุการณ์แบบวันนี้เกิดขึ้น”

นอกจากนี้BTS ได้ยื่นฟ้อง ผู้ว่าการ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกเป็นคดีอาญา ต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง ในฐานความผิดปฎิบัติหรือละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฎิบัติหรือละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดยทุจริต เป็นคดีหมายเลขดำที่ อท30/2564อยู่ระหว่างรอศาลพิจารณารับคำฟ้องวันที่ 15 มี.ค.นี้

จ่อฟ้องปกครอง รฟม. 3 คดี
ด้านนายสุรพงษ์ กล่าวว่า ยังไม่ตัดสินใจว่าจะร่วมให้ความเห็นร่าง RFP รอบใหม่นี้หรือไม่ ขอปรึกษาฝ่ายกฎหมายก่อน ส่วนการที่ รฟม.ไปถอนอุทธรณ์ทุเลากับศาลปกครองสูงสุดและศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดีนั้น กำลังพิจารณาว่าจะอุทธรณ์การถอนคดีดังกล่าวหรือไม่ โดยจะต้องดำเนินการภายใน 30 วันนับจากวันที่ศาลมีคำสั่งเมื่อวันที่ 5 มี.ค.2564

ขณะเดียวกันกำลังพิจารณายื่นต่อศาลปกครองฟ้องคดีใหม่ ได้แก่ การที่รฟม.ยกเลิกประมูลโครงการและการเปิดรับฟังความเห็นประกอบการทำ RFP ที่ไม่มีอำนาจทางกฎหมายรองรับ ซึ่งใน 2 กรณีนี้มีเวลาตัดสินใจ 90 วัน

ชงบอร์ดเคาะร่วม-ไม่ร่วมประมูล
ส่วนจะเข้าร่วมประมูลรอบนี้หรือไม่ คงต้องรอดูรายละเอียดของ RFP ก่อนว่าเป็นอย่างไร แล้วจึงเสนอให้บอร์ดของ BTS พิจารณาอนุมัติต่อไป หากเข้าร่วมจะร่วมกับบมจ.ซิโน-ไทยฯ เหมือนเดิมและอาจจะมีพันธมิตรอื่นๆเพิ่มเติม



Wisarut wrote:
"บีทีเอส" เปิดข้อพิรุธประมูล"สายสีส้ม"จ่อยื่นอุทรณ์ต่อ
พุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 18.19 น.


ด่วน บีทีเอส ยื่นฟ้องเพิ่ม 3 คดี หลังรฟม.ประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม รอบ 2
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project
พุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 17:22 น.
“บีทีเอส”จ่อฟ้องศาลปกครองเพิ่มยกเลิกประมูลมิชอบกฎหมาย
*เตรียมยื่นอุทธรณ์ศาลฯสูงสุดไม่เห็นด้วยจำหน่ายคดี
*ยังไม่เคาะเข้าร่วมชิงรถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน!!
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2856155867939246
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 11/03/2021 5:59 pm    Post subject: Reply with quote

บีทีเอสอุทธรณ์ศาลปกครอง จำหน่ายคดีฟ้อง รฟม.-ยันแก้ TOR ไม่ชอบกฎหมาย
ข่าวทั่วไทย
ไทยรัฐฉบับพิมพ์
พฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม 2564 เวลา 06:58 น.

บีทีเอสเตรียมยื่นอุทธรณ์ศาลปกครองกลาง หลังจำหน่ายคดีฟ้อง รฟม. และคณะกรรมการมาตรการ 36 และจ่อฟ้องใหม่กรณียกเลิกประมูลสีส้ม โดยใช้อำนาจมิชอบ

วันที่ 10 มี.ค.64 ที่โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บมจ.ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ และ พ.ต.อ.สุชาติ วงศ์อนันต์ชัย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ปโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) จัดแถลงข่าวความคืบหน้า เรื่อง “การดำเนินงานรถไฟฟ้าสายสีส้ม” โดยนายสุรพงษ์กล่าวว่า วันที่ 9 มี.ค.64 บริษัทได้นำส่งจดหมายถึงนายกรัฐมนตรี รมว.คมนาคม ประธาน บอร์ด รฟม. และประธานคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน เรื่อง ขอให้ตรวจสอบการดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี เนื่องจาก รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่ง พ.ร.บ.การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ได้ร่วมกันเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน โดยก่อนหน้านี้บริษัทจัดทำหนังสือสอบถาม และขอความเป็นธรรมถึงบุคคล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5 ฉบับ ก็ยังมิได้รับการชี้แจงแต่อย่างใด ทั้งนี้ ขณะนี้บริษัทอยู่ระหว่างยื่นอุทธรณ์คำสั่งศาลปกครองกลางที่จำหน่ายคดีที่บริษัทยื่นฟ้อง รฟม.และคณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ซึ่งสามารถยื่นได้ภายใน 30 วัน



นายสุรพงษ์กล่าวว่า นอกจากนี้บริษัทอยู่ระหว่างการพิจารณาประเด็นที่ รฟม. ยกเลิกการประกวดราคา และเปิดประกวดราคาใหม่ รวมถึงเปิดรับฟังความคิดเห็นใหม่ ถือว่าการกระทำดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย ว่าจะยื่นฟ้องอีกหรือไม่ ขณะเดียวกันรอวันที่ 15 มี.ค. ว่า ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง จะมีคำสั่งรับคำฟ้องคดีหรือไม่บริษัทสามารถยื่นฟ้องได้ภายใน 90 วัน ส่วนการประกวดราคาครั้งใหม่ ขอดูทีโออาร์ และรายละเอียดอื่นๆ ส่วนจะเข้าร่วมประกวดราคาหรือไม่อยู่ที่การพิจารณาของบอร์ดบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัทยืนยันว่าการใช้หลักเกณฑ์เดิมมีความเหมาะสม ทั้งนี้ บีทีเอส ไม่ต้องการโต้แย้งกับหน่วยงานของรัฐผ่านสื่อ เราพยายามร้องขอความเป็นธรรมและดำเนินการตามกระบวนการกฎหมายที่มี แต่จนถึงขณะนี้เราพบว่ามีความพยายามเบี่ยงเบนข้อเท็จจริง ดังนั้น เราจึงมีความจำเป็นต้องชี้แจง


ด้าน พ.ต.อ.สุชาติกล่าวว่า การประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มนั้น คณะกรรมการคัดเลือกมาตรา 36 ไม่มีอำนาจแก้ไขหลักเกณฑ์การคัดเลือก มีหน้าที่เห็นชอบร่างเอกสารเชิญชวน (RFP) เท่านั้น ซึ่งตาม พ.ร.บ.ร่วมลงทุน ปี 62 กระบวนการประกวดราคาตั้งแต่ขายซองรับซอง ประเมินข้อเสนอ และเสนอ ครม. อนุมัติ ต้องเดินหน้าให้จบไม่สามารถย้อนหลังได้ ตั้งแต่มาตรา 1-70 ไม่มีมาตราใดให้อำนาจเปลี่ยนแปลง ยกเว้น ประกาศคณะกรรมการ PPP ข้อ 9 กรณีขายซองแล้ว ถึงกำหนดรับซองแต่ไม่มีผู้ยื่น หรือมีผู้ยื่นแต่ไม่ผ่านเกณฑ์ จึงจะเปลี่ยนแปลงได้ แต่หากมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญจะต้องเสนอ ครม.พิจารณา ซึ่งสายสีส้มยังไม่ถึงขั้นตอนนั้นจึงไม่เข้าข่ายข้อ 9 ทั้งนี้การกระทำของ รฟม. และคณะกรรมการมาตรา 36 ที่ผ่านมาถือว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย.


Wisarut wrote:
ส่อลากยาว ประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม “BTS” ไม่ถอยจ่อยื่นฟ้องศาลเพิ่ม 3 คดี
อสังหาริมทรัพย์
วันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 20:28 น.


Wisarut wrote:
"บีทีเอส" เปิดข้อพิรุธประมูล"สายสีส้ม"จ่อยื่นอุทรณ์ต่อ
พุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 18.19 น.


ด่วน บีทีเอส ยื่นฟ้องเพิ่ม 3 คดี หลังรฟม.ประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้ม รอบ 2
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project
พุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 17:22 น.
“บีทีเอส”จ่อฟ้องศาลปกครองเพิ่มยกเลิกประมูลมิชอบกฎหมาย
*เตรียมยื่นอุทธรณ์ศาลฯสูงสุดไม่เห็นด้วยจำหน่ายคดี
*ยังไม่เคาะเข้าร่วมชิงรถไฟฟ้าสายสีส้ม 1.2 แสนล้าน!!
https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2856155867939246
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 12/03/2021 9:50 pm    Post subject: Reply with quote

รฟม.แจงยิบ ปมรื้อเกณฑ์ทีโออาร์รถไฟฟ้าสายสีส้ม
หน้าเศรษฐกิจมหภาค / Mega Project
พฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม 2564 เวลา 19:15 น.

รฟม.แจงยิบ ปมรื้อเกณฑ์ทีโออาร์รถไฟฟ้าสายสีส้ม
รฟม.ยันประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้มไม่ได้เอื้อเอกชนเพียงรายเดียว อ้างล้มประมูลหวั่นกระทบก่อสร้างโครงการฯ ล่าช้า เชื่อคณะกรรมการมาตรา 36 มีอำนาจยกเลิกประกวดราคาได้ตามกฎหมาย

รายงานข่าวจากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เปิดเผยถึงข้อเท็จจริงในการดำเนินการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ ว่า โครงการฯ เป็นการดำเนินการตาม พระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 (พ.ร.บ. ร่วมลงทุนฯ) ที่มีเจตนารมย์ในการประกาศใช้เพื่อให้มีแนวทางการปฏิบัติที่แน่นอนไม่ให้อำนาจการพิจารณาเป็นของบุคคลเดียวหรือหน่วยงานเดียว ดังนี้

1.การออกเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติม (RFP Addendum) ปรับปรุงวิธีการประเมินข้อเสนอรฟม. ได้มีประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ต่อมาคณะกรรมการคัดเลือกฯ ในการประชุมครั้งที่ 13/2563 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2563 ได้มีมติเห็นชอบข้อชี้แจงต่อข้อสอบถามของ ผู้ซื้อเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน (RFP Clarification) และเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชนเพิ่มเติม (RFP Addendum) รวมถึงเห็นชอบการปรับปรุงวิธีการประเมินข้อเสนอจากรูปแบบเดิมที่พิจารณาซองเทคนิค และซองการลงทุนและผลตอบแทน แยกจากกัน โดยให้พิจารณาซองการลงทุนและผลตอบแทนเฉพาะผู้ยื่นข้อเสนอรายที่ผ่านการประเมินซองเทคนิคเท่านั้น เป็นรูปแบบการพิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิคควบคู่กับด้านราคา พร้อมเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาในการยื่นข้อเสนอของเอกชนออกไป 45 วัน ซึ่งการปรับปรุงเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน (RFP) เป็นการปรับปรุงเฉพาะวิธีการประเมินข้อเสนอเท่านั้น

2.การปรับปรุงวิธีการประเมินข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ทำให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม เพราะเอกชนทุกรายต้องแข่งขันบนเกณฑ์การประเมินเดียวกัน และไม่เป็นการเอื้อประโยชน์แก่เอกชนรายใด เนื่องจาก รฟม. ได้แจ้งให้ผู้ซื้อเอกสาร RFP ทุกราย ทราบถึงการปรับปรุงวิธีการประเมินข้อเสนอแล้ว ซึ่งไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของเอกชนผู้ที่ยื่นข้อเสนอแต่อย่างใด โดยยังกำหนดไว้เช่นเดิมว่า หากเอกชนรายใดไม่มีผลงานขุดเจาะอุโมงค์ ก็สามารถใช้ผลงานของบัญชีผู้รับจ้าง (Contractor List) ได้ รวมถึงยังได้มีการขยายระยะเวลาจัดทำข้อเสนอออกไปอีก 45 วัน นับเป็นระยะเวลาในการจัดทำข้อเสนอการร่วมลงทุนของเอกชนประมาณ 70 วัน เพื่อให้ผู้ซื้อเอกสาร RFP ทุกรายมีเวลาในการจัดเตรียมข้อเสนอมากขึ้นด้วยการออก RFP Addendum ปรับปรุงวิธีการประเมินข้อเสนอของคณะกรรมการคัดเลือกฯ และ รฟม. ในครั้งนั้น เป็นไปตามหน้าที่และอำนาจในมาตรา 35 และมาตรา 38 แห่ง พ.ร.บ. ร่วมลงทุนฯ และเป็นไปตามเอกสาร RFP เล่มที่ 1 ข้อแนะนำผู้ยื่นข้อเสนอ ข้อ 17.1 ซึ่งได้ระบุว่า “ก่อนถึงกำหนดวันยื่นซองเอกสารข้อเสนอ รฟม. อาจมีการเปลี่ยนแปลง แก้ไขเอกสารข้อเสนอการร่วมลงทุน (ที่ระบุในข้อ 15.)” ซึ่งเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน (ประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ) เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน และสาระสำคัญของร่างสัญญาร่วมลงทุน พ.ศ. 2563 ข้อ 4 (9) โดยการออกเอกสารแนบท้ายเพิ่มเติม มีเหตุผลในการปรับเปลี่ยนเนื่องจาก จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาพพื้นที่เส้นทางโครงการฯ ที่เอกชนผู้ร่วมลงทุนต้องดำเนินการด้วยเทคนิคก่อสร้างที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด เพื่อความสำเร็จของโครงการและประโยชน์สูงสุดต่อภาครัฐและประชาชนผู้ใช้บริการ สอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน และสาระสำคัญของร่างสัญญาร่วมลงทุน พ.ศ. 2563 ข้อ 4 (8)



สำหรับการยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และการยกเลิกการคัดเลือกเอกชนฯในการประชุมคณะกรรมการคัดเลือกฯ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 คณะกรรมการคัดเลือกฯ และ รฟม. ได้ร่วมกันพิจารณาแนวทางดำเนินการคัดเลือกเอกชนฯ โดยประเมินกรอบระยะเวลาดำเนินการ ผลกระทบ รวมถึงข้อดี-ข้อเสีย อย่างรอบด้านแล้ว มีความเห็นโดยสรุปว่า จนถึงปัจจุบันระยะเวลาได้ล่วงเลยมามากแล้ว ยังไม่มีความคืบหน้าและข้อสรุปทางคดี ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลานานออกไป ทำให้ไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาดำเนินการคัดเลือกเอกชนฯ จนแล้วเสร็จที่ชัดเจนได้ ประกอบกับซองเอกสารข้อเสนอของเอกชน 2 ราย มีอายุ 270 วัน นับจากวันยื่นซองข้อเสนอ หากยังคงรอข้อสรุปทางด้านคดีก่อนแล้วจึงดำเนินการคัดเลือกต่อไป อาจส่งผลให้ซองเอกสารข้อเสนอของเอกชน 2 ราย ดังกล่าว สิ้นอายุลงก่อนที่กระบวนการคัดเลือกเอกชนฯ จะแล้วเสร็จ ซึ่งอาจนำไปสู่การยกเลิกการคัดเลือกและเริ่มการคัดเลือกเอกชนฯ ใหม่ ในภายหลัง จึงเป็นความเสี่ยงสำคัญที่ล้วนส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ ขณะที่กรณียกเลิกการคัดเลือกและเริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนฯ ใหม่ จะสามารถดำเนินการคัดเลือกเอกชนให้แล้วเสร็จได้ภายใน 6 – 8 เดือน กรอบระยะเวลาดำเนินการมีความชัดเจน จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดต่อความสำเร็จของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ และเป็นประโยชน์ต่อภาครัฐสูงสุด ดังนั้นคณะกรรมการคัดเลือกฯ จึงได้มีมติเห็นชอบให้ยกเลิกประกาศเชิญชวนการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มฯ และการคัดเลือกเอกชนตามประกาศเชิญชวนฯ ดังกล่าว โดยมอบให้ รฟม. พิจารณาดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งเป็นไปตามหน้าที่และอำนาจในมาตรา 38 แห่ง พ.ร.บ. ร่วมลงทุนฯ ประกอบกับข้อสงวนสิทธิ์ในประกาศเชิญชวนฯ ข้อ 12.1 และเอกสาร RFP ข้อ 35.1 และสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน และสาระสำคัญของร่างสัญญาร่วมลงทุน พ.ศ. 2563 ข้อ 4 (9) จึงเป็นการดำเนินการที่ถูกต้องตามกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้องแล้ว ส่วนการเปิดรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน เพื่อเตรียมการสำหรับการคัดเลือกเอกชนครั้งใหม่ สืบเนื่องจากการยกเลิกการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนฯ ข้างต้น รฟม. จึงได้เริ่มกระบวนการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนขึ้นใหม่อีกครั้ง ตามขั้นตอนใน พ.ร.บ. ร่วมลงทุนฯ ส่วนที่ 2 (การคัดเลือกเอกชน) โดยเริ่มตั้งแต่มาตรา 35 ซึ่งระบุให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาร่วมลงทุน เสนอต่อคณะกรรมการคัดเลือกฯ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยให้หน่วยงานเจ้าของโครงการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง (Opinion Hearing) และนำความคิดเห็นดังกล่าวมาพิจารณาประกอบการจัดทำเอกสาร ทั้งนี้ วิธีการและขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนดังกล่าว รฟม. ดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชน พ.ศ. 2563 โดยเนื้อหาที่เปิดรับฟังหลักๆ ประกอบด้วย สาระสำคัญของร่างประกาศเชิญชวน สาระสำคัญของร่างเอกสาร RFP และสาระสำคัญของร่างสัญญาร่วมลงทุน ขณะเดียวกันรฟม. ได้ออกประกาศการรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนประกอบการพิจารณาจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) เมื่อ วันที่ 1 มีนาคม 2564 โดยในส่วนของหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกเอกชนนั้น รฟม. เห็นว่า จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาพพื้นที่เส้นทางโครงการฯ ที่เอกชนผู้ร่วมลงทุนต้องดำเนินการด้วยเทคนิคก่อสร้างที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด จึงกำหนดวิธีประเมินคะแนนด้านเทคนิคและคุณภาพควบคู่คะแนนด้านผลตอบแทนและการลงทุน (Price-Performance) ซึ่งสอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสาร RFP และสาระสำคัญของร่างสัญญาฯ พ.ศ. 2563 โดยในข้อ 4(8) ที่ให้กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ให้ระบุหลักเกณฑ์และวิธีการตัดสินเป็นคะแนนในทุกด้านทั้งด้านคุณภาพและด้านราคา นอกจากนี้ รฟม. ได้ปรับปรุงถ้อยคำในส่วนของข้อสงวนสิทธิ์ในเอกสารรับฟังความคิดเห็นเพื่อให้สอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ เรื่อง รายละเอียดของร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสารสำหรับการคัดเลือกเอกชน และสาระสำคัญของร่างสัญญาร่วมลงทุน พ.ศ. 2563 ข้อ 4 (9)การรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนเป็นเพียงการรวบรวมความเห็นของเอกชนเพื่อนำมาใช้ประกอบในการปรับปรุงร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาฯ ตามที่ รฟม. เห็นสมควรโดยคำนึงถึงความสำเร็จของโครงการเป็นสำคัญ เท่านั้น เพื่อที่ รฟม. จะนำร่างประกาศเชิญชวนฯ ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาฯ รวมถึงผลการรับฟังความคิดเห็นดังกล่าว เสนอคณะกรรมการคัดเลือกฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบตามหน้าที่และอำนาจในมาตรา 38 แห่ง พ.ร.บ. ร่วมลงทุนฯ ต่อไป

สำหรับประเด็นที่มีข้อถกเถียงว่า รฟม. ได้กระทำการละเมิดคำสั่งศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2563 หรือไม่นั้น คำสั่งศาลปกครองกลางดังกล่าวเป็นเพียงแต่สั่งให้ทุเลาหลักเกณฑ์ที่มีการแก้ไขเพิ่มเติมเท่านั้น เมื่อ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ใช้อำนาจตามกฎหมายยกเลิกประกาศเชิญชวนฯ และยกเลิกการคัดเลือกเอกชนฯ แล้ว รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ จึงได้ยื่นคำร้องขอถอนอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองสูงสุดอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ เนื่องจาก เหตุแห่งการฟ้องคดี รวมถึงเหตุแห่งการพิจารณาเกี่ยวกับการขอทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครองไม่มีอยู่ต่อไป และคดีนี้มิได้เป็นคดีที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ การพิจารณาคดีต่อไปไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม ต่อมา รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ จึงได้ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องตามอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายดังรายละเอียดที่กล่าวไว้ในข้างต้นแล้ว นอกจากนี้ ศาลปกครองกลางได้มีคำสั่ง ฉบับลงวันที่ 5 มีนาคม 2564 จำหน่ายคดีในข้อหาที่ฟ้องขอให้เพิกถอนหลักเกณฑ์การร่วมลงทุนที่แก้ไขเพิ่มเติม เนื่องจากเหตุแห่งการฟ้องคดีตามคำขอดังกล่าวหมดสิ้นไป และศาลยังมีคำสั่งให้คำสั่งทุเลาคำบังคับของศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2563 สิ้นผลบังคับลงไปด้วย ทั้งนี้การเปิดรับฟังรับฟังความคิดเห็นของภาคเอกชนประกอบการพิจารณาจัดทำร่างประกาศเชิญชวน ร่างเอกสาร RFP และร่างสัญญาร่วมลงทุน เป็นหน้าที่และอำนาจของหน่วยงานเจ้าของโครงการ ในขณะที่การพิจารณาเห็นชอบ เป็นหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการคัดเลือกฯ ดังนั้นการที่ผู้ใดจะกระทำการใดๆ ที่ก้าวก่ายอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานเจ้าของโครงการและคณะกรรมการคัดเลือกฯ จนเป็นเหตุให้ผู้อื่นไม่มีโอกาสเข้าทำการเสนอราคาอย่างเป็นธรรมหรือให้มีการเสนอราคาโดยหลงผิด เป็นการกระทำที่เข้าข่ายต้องระวางโทษ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง​อย่างไรก็ตาม โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) มีแนวเส้นทางเชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ระยะทาง 35.9 กิโลเมตร แบ่งเป็นส่วนตะวันออก (ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์)) ระยะทาง 22.5 กิโลเมตร จำนวน 17 สถานี (สถานีใต้ดิน 10 สถานี และสถานียกระดับ 7 สถานี) และส่วนตะวันตก (ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย) ระยะทาง 13.4 กิโลเมตร จำนวน 11 สถานี (สถานีใต้ดินตลอดสาย)


Last edited by Wisarut on 12/03/2021 10:21 pm; edited 1 time in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 12/03/2021 9:55 pm    Post subject: Reply with quote

รุกทวงถาม ป.ป.ช.ผลสอบ "รฟม."ปมร้อน "รถไฟฟ้าสีส้ม"หวั่นเดินตาม "GT200"
หน้าอสังหาริมทรัพย์
วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2564 เวลา 13:27 น.

"เครือข่ายสื่อมวลชนต่อต้านทุจริตแห่งชาติ" กระทุ้ง ป.ป.ช.-ค.ต.ง. เร่งตรวจสอบ" รฟม.-กรรมการคัดเลือก" แก้เกณฑ์ประมูล รถไฟฟ้าสายสีส้ม หลังเปิดโปงความไม่ชอบมาพากลร่วม 5 เดือน หวั่นรอยตาม GT200



เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2564 นายพิทยา พรโพธิ์ รองประธานเครือข่ายสื่อมวลชนต่อต้านทุจริตแห่งชาติ (ส.ท.ช.) พร้อมสมาชิก ได้เข้ายื่นหนังสือต่อ ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดยมีนายวราพงษ์ อินต๊ะโมงค์ ผู้อำนวยการการ กลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลและพิสูจน์หลักฐานเบื้องต้นเป็นผู้รับหนังสือ เพื่อขอทราบความคืบหน้า ในการตรวจสอบเอาผิดผู้บริหาร การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ช่วงบางขุนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) (คณะกรรมการมาตรา 36)เนื่องจากมีพฤติกรรมส่อทุจริต เอื้อประโยชน์ต่อเอกชนบางราย โดยการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์พิจารณาคัดเลือก ภายหลังการปิดขายซองประกวดราคาไปแล้ว นายพิทยา กล่าวว่า ที่มายื่นหนังสือต่อ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในวันนี้ เพราะก่อนหน้านี้ ทางเครือข่าย ส.ท.ช. ได้เคยยื่นเรื่องให้ ป.ป.ช. เข้ามาตรวจสอบเอาผิดฝ่ายบริหาร รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกที่มีพฤติกรรมส่อในทางทุจริตมาแล้ว ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน 2563 ผ่านมากว่า 5 เดือน ยังไม่มีความคืบหน้า จึงได้มาตามเรื่อง


ล่าสุด ได้รับรายงานว่า ทาง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือก ได้ถูกบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)หรือ BTS ยื่นฟ้องต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ กรณีมีการแก้ไขเอกสารประกวดราคา และเกณฑ์พิจารณาคัดเบลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนในโครงการดังกล่าว ซึ่งในคำบรรยายฟ้องของ BTS นั้น สอดคล้องกับพฤติการณ์ที่ เครือข่าย ส.ท.ช. ได้เคยยื่นเรื่องให้ ป.ป.ช. ได้ลงมาตรวจสอบก่อนหน้านี้แล้ว ทั้งยังได้รับรายงานว่า รฟม. ได้สั่งล้มการประมูลคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนในโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ไปแล้ว เมื่อวันที่ 3 ก.พ.64 ที่ผ่านมาหลังจากไม่สามารถ รอฟังคำพิพากษาของ ศาลปกครองกลาง และ ศาลปกครองสูงสุด ต่อกรณีที่ รฟม. และ คณะกรรมการคัดเลือกได้ยื่นอุทธรณ์ต่อ ศาลปกครองสูงสุด เพื่อขอให้ศาล มีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งของ ศาลปกครองกลาง ที่ให้ทุเลาการบังคับใช้เกณฑ์พิจารณาคัดเลือกใหม่เอาไว้ จนกว่า ศาล จะมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งอื่นใด รฟม. จึงตัดสินใจล้มการประมูลเดิม และจะเร่งจัดประมูลใหม่ โดยปัดฝุ่น นำเอาเกณฑ์พิจารณาคัดเลือกใหม่ ที่มีปัญหากลับมาดำเนินการอีกครั้ง
การที่ รฟม. สั่งยกเลิกการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และล่าสุด ยังเปิดรับฟังความคิดเห็นเพื่อประกอบการจัดทำเงื่อนไขการประมูล( RFP )รอบใหม่ โดยอ้างว่า มีอำนาจดำเนินการได้ โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากต้นสังกัด และคณะรัฐมนตรี (ครม.) น่าจะมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย และน่าจะเป็นการดำเนินการที่ขัดต่อประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมทุนระหว่างรัฐเอกชน เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกเอกชน พ.ศ.2563 ซึ่งออกตามความใน พระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.2562 และเป็นเครื่องสะท้อนให้เห็นว่ายังคงมีความพยายามที่จะจัดประมูลหาเอกชนเข้าร่วมลงทุนภายใต้หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ยังคงมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย และเป็นเกณฑ์ที่ถูกตั้งข้อกังขาว่า เอื้อประโยชน์ต่อเอกชนบางรายอยู่ต่อไป ด้วยเหตุนี้ เครือข่าย ส.ท.ช. จึงได้เดินทางมาติดตามความคืบหน้าต่อสิ่งที่ได้ร้องเรียนต่อ ป.ป.ช. ก่อนหน้าว่า มีการดำเนินการตรวจสอบไปถึงไหนแล้ว เพราะหากปล่อยให้ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ดำเนินการต่อไป โดยปราศจากความชัดเจนในเรื่องอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายย่อมกระทบต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ในอนาคตตามมา จึงต้องการให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้เร่งรัดตรวจสอบเรื่องอื้อฉาวที่เกิดขึ้น และเอาผิดกับข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง กับความพยายามเอื้อประโยชน์ต่อเอกชนบางรายในครั้งนี้ ซึ่งนอกจากจะยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าจาก ป.ป.ช.แล้วยังได้ทวงถามความคืบหน้าการตรวจสอบคดีเดียวกันนี้จาก คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) อีกด้วย“ไม่อยากเห็น ป.ป.ช. ไต่สวนคดีนี้แบบอ้อยอิ่ง หรือเจริญรอยตามคดีอื้อฉาวอื่นๆ อย่างการไต่สวนคดีเครื่องตรวจหาวัตถุระเบิด GT200 ที่ตรวจสอบมากว่า 8 -9 ปีแล้ว แต่ยังไม่มีความคืบหน้าเลย”


เครือข่ายสื่อฯ รุกทวงถาม ป.ป.ช.ผลสอบรฟม.ปมร้อนรถไฟฟ้าสีส้ม

12 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 14:49 น.




เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2564 นายพิทยา พรโพธิ์ รองประธานเครือข่ายสื่อมวลชนต่อต้านทุจริตแห่งชาติ (ส.ท.ช.) พร้อมสมาชิก ได้เข้ายื่นหนังสือต่อ ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

โดยมีนายวราพงษ์ อินต๊ะโมงค์ ผู้อำนวยการการ กลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลและพิสูจน์หลักฐานเบื้องต้นเป็นผู้รับหนังสือ เพื่อขอทราบความคืบหน้า ในการตรวจสอบเอาผิดผู้บริหาร การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ช่วงบางขุนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) (คณะกรรมการมาตรา 36) เนื่องจากมีพฤติกรรมส่อทุจริต เอื้อประโยชน์ต่อเอกชนบางราย โดยการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์พิจารณาคัดเลือก ภายหลังการปิดขายซองประกวดราคาไปแล้ว

โดยนายพิทยา กล่าวว่า ที่มายื่นหนังสือต่อ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในวันนี้ เพราะก่อนหน้านี้ ทางเครือข่าย ส.ท.ช. ได้เคยยื่นเรื่องให้ ป.ป.ช. เข้ามาตรวจสอบเอาผิดฝ่ายบริหาร รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกที่มีพฤติกรรมส่อในทางทุจริตมาแล้ว ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน 2563 ผ่านมากว่า 5 เดือน ยังไม่มีความคืบหน้า จึงได้มาตามเรื่อง

เพราะล่าสุด ได้รับรายงานว่า ทาง รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือก ได้ถูกบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)หรือ BTS ยื่นฟ้องต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ กรณีมีการแก้ไขเอกสารประกวดราคา และเกณฑ์พิจารณาคัดเบลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนในโครงการดังกล่าว ซึ่งในคำบรรยายฟ้องของ BTS นั้น สอดคล้องกับพฤติการณ์ที่ เครือข่าย ส.ท.ช. ได้เคยยื่นเรื่องให้ ป.ป.ช. ได้ลงมาตรวจสอบก่อนหน้านี้แล้ว

ทั้งยังได้รับรายงานว่า รฟม. ได้สั่งล้มการประมูลคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนในโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ไปแล้ว เมื่อวันที่ 3 ก.พ.64 ที่ผ่านมา หลังจากไม่สามารถ รอฟังคำพิพากษาของ ศาลปกครองกลาง และ ศาลปกครองสูงสุด ต่อกรณีที่ รฟม. และ คณะกรรมการคัดเลือกได้ยื่นอุทธรณ์ต่อ ศาลปกครองสูงสุด เพื่อขอให้ศาล มีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งของ ศาลปกครองกลาง ที่ให้ทุเลาการบังคับใช้เกณฑ์พิจารณาคัดเลือกใหม่เอาไว้ จนกว่า ศาล จะมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งอื่นใด รฟม. จึงตัดสินใจล้มการประมูลเดิม และจะเร่งจัดประมูลใหม่ โดยปัดฝุ่น นำเอาเกณฑ์พิจารณาคัดเลือกใหม่ ที่มีปัญหากลับมาดำเนินการอีกครั้ง

การที่ รฟม. สั่งยกเลิกการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และล่าสุด ยังเปิดรับฟังความคิดเห็นเพื่อประกอบการจัดทำเงื่อนไขการประมูล( RFP )รอบใหม่ โดยอ้างว่า มีอำนาจดำเนินการได้ โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากต้นสังกัด และคณะรัฐมนตรี (ครม.) น่าจะมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย และน่าจะเป็นการดำเนินการที่ขัดต่อประกาศคณะกรรมการนโยบายการร่วมทุนระหว่างรัฐเอกชน เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกเอกชน พ.ศ.2563 ซึ่งออกตามความใน พระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.2562 และเป็นเครื่องสะท้อนให้เห็นว่า ยังคงมีความพยายามที่จะจัดประมูลหาเอกชนเข้าร่วมลงทุนภายใต้หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ยังคงมีปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย และเป็นเกณฑ์ที่ถูกตั้งข้อกังขาว่า เอื้อประโยชน์ต่อเอกชนบางรายอยู่ต่อไป

ด้วยเหตุนี้ เครือข่าย ส.ท.ช. จึงได้เดินทางมาติดตามความคืบหน้าต่อสิ่งที่ได้ร้องเรียนต่อ ป.ป.ช. ก่อนหน้าว่า มีการดำเนินการตรวจสอบไปถึงไหนแล้ว เพราะหากปล่อยให้ รฟม. และคณะกรรมการคัดเลือกฯ ดำเนินการต่อไป โดยปราศจากความชัดเจนในเรื่องอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ย่อมกระทบต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ในอนาคตตามมา จึงต้องการให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้เร่งรัดตรวจสอบเรื่องอื้อฉาวที่เกิดขึ้น และเอาผิดกับข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง กับความพยายามเอื้อประโยชน์ต่อเอกชนบางรายในครั้งนี้ ซึ่งนอกจากจะยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าจาก ป.ป.ช.แล้วยังได้ทวงถามความคืบหน้าการตรวจสอบคดีเดียวกันนี้จาก คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) อีกด้วย

“เราไม่อยากเห็น ป.ป.ช. ไต่สวนคดีนี้แบบอ้อยอิ่ง หรือเจริญรอยตามคดีอื้อฉาวอื่นๆ อย่างการไต่สวนคดีเครื่องตรวจหาวัตถุระเบิด GT200 ที่ตรวจสอบมากว่า 8 -9 ปีแล้ว แต่ยังไม่มีความคืบหน้าเลย
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42744
Location: NECTEC

PostPosted: 12/03/2021 11:55 pm    Post subject: Reply with quote

#มีนามีรางมีรถไฟฟ้า #ภาพงานวางรางรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ตะวันออก) บริเวณ ศูนย์ซ่อมบำรุง (Depot) พระราม 9

โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มีนบุรี
วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 15:35 น.

ORG : #TRACKWORK งานออกแบบและก่อสร้างระบบราง รถไฟฟ้าสายสีส้ม ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีความคืบหน้ารวม ร้อยละ 72.35
ดำเนินงานโดย สัญญาที่ 6 : บริษัท ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)
#งานก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม #ขออภัยในความไม่สะดวก #Orangeline#รฟม. #เรายกระดับชีวิตเมือง
Back to top
View user's profile Send private message
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> โครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในอนาคต All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3 ... 49, 50, 51 ... 89, 90, 91  Next
Page 50 of 91

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©