Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai.Com

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311293
ทั่วไป:13271857
ทั้งหมด:13583150
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 

ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 17) : รถไฟความเร็วสูง 14
 
เรื่องพิเศษ

     ในตอนที่แล้ว ตอนที่ 16 หลายๆ ท่านก็คงจะได้รู้จัก กับหลักการทำงานเบื้องต้น สำหรับการเคลื่อนที่ ของรถไฟความเร็วสูง แบบแม่เหล็ก หรือ Maglev กันไปพอสมควรแล้ว แต่จะเป็นในเรื่องแบบธรรมดา ในสัปดาห์นี้ ใน ตอนที่ 17 ของบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" โดย อาจารย์นคร จันทศร จะแนะนำถึงรายละเอียด ข้างในลึกๆ ของรถไฟ Maglev ในแบบญี่ปุ่น ที่ใช้ ตัวนำยิ่งยวด (Super Conductor) เป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ ในการทำให้รถไฟเคลื่อนที่ และประคองให้วิ่งไปตามเส้นทาง ซึ่งสามารถยกขบวนรถไฟ ให้ลอยสูงจากพื้นได้ ถึง 10 ซ.ม. ซึ่งสูงกว่าของเยอรมัน ถึง 10 เท่า

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 17) ได้ที่นี่



ติดประกาศ Sunday 07 Oct 07@ 21:00:00 +07 โดย CivilSpice

 
 
 

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

 
· ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่องพิเศษ
· เสนอข่าวโดย CivilSpice


เรื่องที่นิยมอ่านมากสุด เรื่องพิเศษ:
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 2) : รถไฟเชื่อมสนามบิน

 

ส่วนเพิ่ม

 

 หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์ หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์

 


ความคิดเห็นที่แสดงนี้เป็นของเป็นของผู้ลงประกาศ. ทางเว็บไซต์ ไม่ขอรับผิดชอบในเนื้อหาเหล่านี้.




ผู้ไม่ลงทะเบียน ไม่มีสิทธิ์แสดงความเห็น , โปรด ลงทะเบียน




Re: ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 17) : รถไฟความเร็วสูง 14 (คะแนน: 1)
โดย papana (new69@hotmail.com) เมื่อ Thursday 25 Oct 07@ 15:16:07 +07
(ข้อมูลผู้ใช้ | ส่งข้อมูลออกไป) http://www.hotmail.com
ถ้ามีในประเทศไทยก็ดีนะจะได้ทำให้การโดยสารรวดเร็วขึ้น ดึงดูดใจให้มานั่งรถไฟมากขึ้นครับ