RailServe.Com

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai Gallery in Facebook

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311238
ทั่วไป:13181685
ทั้งหมด:13492923
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 

ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 18) : รถไฟความเร็วสูง 15
 
เรื่องพิเศษ

     ใกล้มาถึงโค้งสุดท้ายแล้ว สำหรับบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" โดย อาจารย์นคร จันทศร ซึ่งเหลือเพียงตอนหน้า อีกตอนเดียว บทความชุดนี้ ก็จะจบลง ในสัปดาห์นี้ เป็นตอนที่ 18 ซึ่งจะว่าด้วยเรื่อง การต่อสู้ทางเทคโนโลยี และการเกทับทางด้านการตลาด ระหว่าง รถไฟแม่เหล็ก (Maglev) จากค่ายญี่ปุ่น และเยอรมัน ที่ยังคงเข้มข้น ต่อเนื่องมาเรื่อยๆ เพราะต่างฝ่าย ต่างก็ดึงเอาจุดเด่นของตัวเอง และจุดด้อยของคู่แข่ง ออกมาถล่มกัน โดย ทางฝั่งเยอรมัน ก็อ้างว่า Super Conductor ของญี่ปุ่น สิ้นเปลืองพลังงาน ค่าก่อสร้างแพง และเส้นแรงแม่เหล็กที่เข้มข้น จะเป็นอันตรายกับผู้โดยสาร ส่วนของญี่ปุ่น ก็อ้างว่า ของเยอรมัน ยกตัวขบวนรถ ลอยสูงจากพื้นเพียงเล็กน้อยในเวลาวิ่ง ซึ่งก็อันตรายกว่า เป็นต้น

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 18) ได้ที่นี่



ติดประกาศ Monday 15 Oct 07@ 06:00:00 +07 โดย CivilSpice

 
 
 

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

 
· ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่องพิเศษ
· เสนอข่าวโดย CivilSpice


เรื่องที่นิยมอ่านมากสุด เรื่องพิเศษ:
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 2) : รถไฟเชื่อมสนามบิน

 

ส่วนเพิ่ม

 

 หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์ หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์

 


ความคิดเห็นที่แสดงนี้เป็นของเป็นของผู้ลงประกาศ. ทางเว็บไซต์ ไม่ขอรับผิดชอบในเนื้อหาเหล่านี้.




ผู้ไม่ลงทะเบียน ไม่มีสิทธิ์แสดงความเห็น , โปรด ลงทะเบียน