Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai.Com

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311283
ทั่วไป:13263484
ทั้งหมด:13574767
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 

ทำความรู้จักกับระบบการจัดวางล้อของรถไฟ
 
เนื้อหาสาระ

     เคยสงสัยกันบ้างไหมครับว่า ปกติแล้ว เพลาและล้อของรถจักรต่างๆ อย่างเช่น รถจักรดีเซลในบ้านเรา ทำไมบางรุ่นก็มี 4 เพลา 8 ล้อ บางรุ่นก็มี 6 เพลา 12 ล้อ หรือถ้าหากเป็นรถจักรไอน้ำ บางรุ่นก็มีล้อที่โตๆ 6 ล้อบ้าง 8 ล้อบ้าง แถมยังมีล้อเล็กๆ ติดอยู่ที่ด้านหัวและท้ายของรถจักรอีก อีกทั้ง เวลาที่เราอ่านหนังสือทางด้านเทคนิค เกี่ยวกับรถไฟและหัวรถจักร ก็มักจะพบว่ามีการเขียนเอาไว้ เช่นว่า รถจักรรุ่นนี้ มีแบบล้อเป็น Co-Co บางรุ่นก็เป็น Bo-Bo หรือบางรุ่นก็ประหลาดขึ้นไปอีก โดยเป็นแบบ A1A-A1A ก็มี

     วันนี้ผมขออนุญาตหยิบเอาเรื่องเก่าๆ ที่มีอยู่ในเว็บไซต์ของเรานานแล้วพอสมควร ออกมาแนะนำให้สมาชิก และผู้สนใจได้รู้ทราบกันอีกครั้ง ก็คือเรื่องราวเกี่ยวกับ "ระบบการจัดวางล้อของรถไฟ (Wheels Arrangements)" คราวนี้จะได้หายสงสัยกันสักที ว่าทำไม รถจักร Alsthom ถึงได้เรียกว่ามีรูปแบบการจัดวางล้อเป็น Co-Co แต่รถจักร Krupp กลับเรียกเป็นแบบ Bo-Bo หรือรถจักรไอน้ำ ทำไมคันนี้เรียกว่า มิกาโด (2-8-2) แล้วทำไมคันนี้ ถึงเรียกว่า แปซิฟิค (4-6-2) แล้วเรื่องของระบบเพลา และระบบล้อส่งกำลัง มันเข้ามาเกี่ยวข้องกับชื่อเรียกของรูปแบบการจัดวางล้อรถไฟได้อย่างไร

     ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องทางเทคนิคไปนิด แต่ พี่หมู หรือคุณ Longbow จากทีม Thai Train Simulator ผู้เขียนบทความดังกล่าว ก็อธิบายได้อย่างที่สามารถจะทำความเข้าใจได้ง่าย พร้อมยกตัวอย่างภาพประกอบให้เห็นได้ชัดเจน เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้น ที่กำลังต้องการศึกษา เรื่องราวเกี่ยวกับรถไฟไทยได้เป็นอย่างดีครับ โดยจัดทำเป็นไฟล์เอกสารในรูปแบบ PDF ความยาวประมาณ 11 หน้า

     ท่านผู้สนใจ และสมาชิก สามารถดาวน์โหลดไฟล์เอกสารดังกล่าวได้ฟรี จาก โมดูลดาวน์โหลด แล้วเลือกดูในหัวข้อ Documents and Knowledges หรือ คลิกที่นี่

Wheels Arrangements

ติดประกาศ Thursday 16 Nov 06@ 12:00:00 +07 โดย CivilSpice

 
 
 

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

 
· ข้อมูลเพิ่มเติม เนื้อหาสาระ
· เสนอข่าวโดย CivilSpice


เรื่องที่นิยมอ่านมากสุด เนื้อหาสาระ:
เส้นทางสู่ฝันของคนบ้ารถไฟ กับบทความ 'กว่าจะเป็น พขร.'

 

ส่วนเพิ่ม

 

 หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์ หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์

 


ความคิดเห็นที่แสดงนี้เป็นของเป็นของผู้ลงประกาศ. ทางเว็บไซต์ ไม่ขอรับผิดชอบในเนื้อหาเหล่านี้.




ผู้ไม่ลงทะเบียน ไม่มีสิทธิ์แสดงความเห็น , โปรด ลงทะเบียน