RailServe.Com

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai Gallery in Facebook

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311289
ทั่วไป:13270912
ทั้งหมด:13582201
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 

ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 10) : รถไฟความเร็วสูง 7
 
เรื่องพิเศษ

     จากรถไฟความเร็วสูงของยุโรป ก็ข้ามฝั่งกลับมา ยังประเทศญี่ปุ่น กันต่ออีกเล็กน้อย กับบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น ตอนที่ 10" โดย อาจารย์นคร จันทศร ซึ่งในตอนนี้ เราก็จะได้ทราบกันว่า ที่มาของชื่อรถไฟความเร็วสูง ของญี่ปุ่น อาทิ NOZOMI, HIKARI หรือ KODAMA มีที่มาได้อย่างไร และมีความหมาย ว่าอย่างไรบ้าง จริงๆ แล้ว ขบวนรถด่วน หรือด่วนพิเศษ ขบวนอื่นๆ ของประเทศไทย นอกเหนือจากของเดิม ที่มีอยู่แล้ว ก็น่าจะมีการ ตั้งชื่อขบวนรถ ให้ดูเก๋ไก๋ และมีความหมายดีๆ แบบของประเทศญี่ปุ่นบ้าง ก็คงจะไม่ผิดกติกาแต่อย่างใด

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 10) ได้ที่นี่



ติดประกาศ Monday 06 Aug 07@ 11:00:00 +07 โดย CivilSpice

 
 
 

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

 
· ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่องพิเศษ
· เสนอข่าวโดย CivilSpice


เรื่องที่นิยมอ่านมากสุด เรื่องพิเศษ:
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 2) : รถไฟเชื่อมสนามบิน

 

ส่วนเพิ่ม

 

 หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์ หน้าเอกสารสำหรับเครื่องพิมพ์

 


ความคิดเห็นที่แสดงนี้เป็นของเป็นของผู้ลงประกาศ. ทางเว็บไซต์ ไม่ขอรับผิดชอบในเนื้อหาเหล่านี้.




ผู้ไม่ลงทะเบียน ไม่มีสิทธิ์แสดงความเห็น , โปรด ลงทะเบียน