Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Ads Service

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311947
ทั่วไป:13596003
ทั้งหมด:13907950
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - ๑๐๐ ปี ทางรถไฟสายสงขลากับปริศนาที่รอการไข
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

๑๐๐ ปี ทางรถไฟสายสงขลากับปริศนาที่รอการไข
Goto page Previous  1, 2, 3 ... 12, 13, 14
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46988
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 14/05/2015 12:10 pm    Post subject: Reply with quote

14 พ.ค. 58 เริ่มรื้อโกดังที่สร้างทับย่านสถานีรถไฟสงขลาแล้วครับ

Click on the image for full size

Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46988
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 14/05/2015 12:54 pm    Post subject: Reply with quote

มองจากด้านทิศเหนือไปทางหาดใหญ่ครับ

Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46988
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 14/05/2015 7:12 pm    Post subject: Reply with quote

ตอนเย็นวันนี้ รื้อโกดังเหลือแต่โครงแล้วครับ

Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46988
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 15/05/2015 7:03 am    Post subject: Reply with quote

มุมมองจากทางประธานครับ ไปทางหาดใหญ่

Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46988
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 16/02/2019 11:36 am    Post subject: Reply with quote

ชมกันชัด ๆ ครับ ภาพเคลื่อนไหวของสถานีรถไฟสงขลา และสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ที่เก่าที่สุดเท่าที่ค้นพบในปัจจุบัน ปี 2498


https://www.youtube.com/watch?v=JA-OsZheUaI

ภาพยนตร์ต้นฉบับครับ
Arrow https://www.youtube.com/watch?v=MLqbBaelFpo
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46988
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 04/05/2024 6:58 pm    Post subject: Reply with quote

หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน | จากรากสู่เรา

อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สําคัญของภาคใต้ และเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้สร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปยังทุกภูมิภาค เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับสยาม สยามจำเป็นต้องกู้เงินจากอังกฤษหลายครั้ง ด้วยเหตุนี้ สยามจึงยอมตกลงให้รัฐมลายูทั้งสี่ ได้แก่ ไทรบุรี ปะลิส กลันตัน และตรังกานู ซึ่งเป็นประเทศราชของสยาม ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ หลังจากนั้นอีกประมาณ 10 ปี จึงได้มีการทําพิธีเปิดสถานี หาดใหญ่อย่างเป็นทางการ ซึ่งในตอนนั้นเอง บ้านเรือนปลูกสร้างอยู่ใกล้สถานีรถไฟเพิ่มขึ้นกว่า 100 หลังคาเรือน

เมืองหาดใหญ่เติบโตขึ้นในฐานะศูนย์กลางการค้าดีบุก และยางพาราทางภาคใต้ของไทย มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศทั้งสิงคโปร์และมาเลเซีย จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในราว พ.ศ. 2490 ราคายางพาราและดีบุกพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เศรษฐกิจเมืองหาดใหญ่เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน

หาดใหญ่ในวันนี้ มีอายุร้อยกว่าปี ก่อร่างสร้างตัว จากชุมชนเล็ก ๆ ที่มีเพียงไม่กี่หลังคาเรือน เติบโตกลายเป็นเมืองใหญ่ ที่เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคใต้ และในระดับภูมิภาค แต่ต่อมา หาดใหญ่ก็ต้องเผชิญกับความท้าทายต่าง ๆ ทั้งในเรื่องของภัยธรรมชาติ โรคระบาด และผลกระทบจากเหตุการณ์ ความไม่สงบของชายแดนใต้ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ทำให้หาดใหญ่ที่เคยรุ่งเรือง ซบเซาลงอย่างเห็นได้ชัด

ติดตามได้ ในรายการติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอน หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส

Hat Yai: A Century of Prosperity and Resilience
Hat Yai District, in Thailand's Songkhla Province, serves as a vital economic hub for the southern region and ranks as the nation's third-largest city. Its origins lie in the reign of King Rama V, who commissioned a railway connecting Bangkok to other regions to solidify Siam's stability. To fund this project, Siam borrowed heavily from England, ceding control of four Malay states – Sai Buri, Perlis, Kelantan, and Terengganu – to British colonial rule. A decade later, Hat Yai station officially opened, with over 100 houses already established nearby.

Hat Yai flourished as a center for Southern Thailand's tin and rubber trade, fostering commercial ties with Singapore and Malaysia. Following World War II, around 1947, surging rubber and tin prices fueled rapid economic expansion within Hat Yai.

Today, Hat Yai boasts a history spanning over a century. From humble beginnings as a small, clustered community, it has blossomed into a major city – a vital economic force in both the southern region and beyond. However, Hat Yai has faced adversity in the form of natural disasters, epidemics, and the fallout from unrest along the southern border. These challenges have temporarily stalled the city's once-booming prosperity.

To learn more, tune into the follow-up program "From the Roots to Us,"
episode: "Hat Yai: Prosperity from the Past to the Present." Airing Saturday, May 4, 2024, at 2:05 p.m. - 2:30 p.m. on Thai PBS.


https://www.youtube.com/watch?v=_0L244lGZY8
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3 ... 12, 13, 14
Page 14 of 14

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©