View previous topic :: View next topic |
Author |
Message |
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
Posted: 02/03/2020 8:57 pm Post subject: |
|
|
ป้ายหน้า
ตามไปดูป้ายสถานีรถไฟแต่ละยุคที่บอกเล่าสภาพทางสังคมยุคนั้นๆ กับการเปลี่ยนจากฟอนต์มาตรฐานกรมรถไฟหลวงเป็นฟอนต์ Cordia ที่ทำให้เห็นว่าการรถไฟไทยกำลังเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง
https://readthecloud.co/station-sign/ |
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
|
Back to top |
|
|
Wisarut
1st Class Pass (Air)
Joined: 27/03/2006 Posts: 43879
Location: NECTEC
|
Posted: 13/03/2020 11:05 am Post subject: |
|
|
RORONOA wrote: | เข้าใจว่าคนจีนค้าขายเก่ง และชื่นชอบการค้าขาย ซึ่งในระยะนั่นรถไฟเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด ชาวจีนที่ทำมาหากินในไทยคงได้ใช้บริการกันบ่อย จึงต้องอำนวนความสะดวกกันบ้าง เหมือนกรณี atm แถวๆมหาชัยที่ต้องมีภาษาเพื่อนบ้านกำกับ ของบ้านโป่ง ก็อย่างกรณีกรับใหญ่ที่มีชาวจีนมาบุกเบิกให้ เจริญถึงขั้น 1 ตำบลต้องแบ่งเป็น 2 เทศบาลเลยครับ มีสถานีตำรวจ ธนาคาร ไปรษณีย์ รหัสไปรษณีย์ โรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่ เป็นของตนเองหมด น้ำตาลมิตรผลก็มีต้นกำเนิดมาจากที่นี่ล่ะครับ สถานีตำรวจนี้ก็คงได้รับการสนับสนุนจากคนใหญ่คนโตที่เป็นชาวจีนที่มาตั้งรกรากที่นี่ ตัวตลาดบ้านโป่งก็เช่น ลองดูภาพเก่าสถานีบ้านโป่งนั้นไม่ชัดเจนครับว่าเขียนว่าอะไร แต่ตัวสถานีมีป้ายภาษาจีนขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจนแต่ไม่ทราบว่าเขียนว่าอะไรนะครับ ลองดูภาพจาก ราชบุรีศึกษาแล้วกันครับ http://rb-old.blogspot.com/2010/05/2488.html |
ภาพที่เห็นมันทางรถไฟสายมรณะ น่าจะสถานีกาญจนบุรีที่ปากแพรกที่มีภาษาญี่ปุ่น ครับ |
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
Posted: 24/03/2020 6:23 pm Post subject: |
|
|
ป้ายสถานีรถไฟลำพูน สมัย ร.7
https://www.facebook.com/naratsamin.mint/posts/10163232427365341
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10163232402230341&set=pcb.10163232427365341
ณรัศมิน ขัติยะวรา อยู่ที่ อินทพานิช
16 กุมภาพันธ์ · เทศบาลนครเชียงใหม่, จังหวัดเชียงใหม่ ·
วันนี้มาชมเรื่อง โรงทอผ้าของบ้านผมทั้ง 2 ตระกูล กันดีกว่าครับ
-โรงงานทอผ้าอินทพานิช ของ โนตานนท์(ทางคุณยายผม) ตั้งอยู่ที่ปัจจุบันบ้านอิทพานิช หลังวัดพระธาตุหริภุญชัย ดำเนินการโดย นายสิงห์คำ-นางสีแก้ว โนตานนท์ มีกี่ทอผ้าทั้งหมด ๔๘ หลัง
-โรงงานทอผ้าหริภุญชัย ของ เทพมณี(ทางคุณตาผม)ตั้งอยู่ที่เวียงยอง ปัจจุบันคือศาลา SME ดำเนินการโดยนายสุข-นางคำนวล เทพมณี มีกี่ทอผ้าประมาณ ๒๕ หลัง เริ่มโดยหม่อนบัวเขียว อิสระ
ทั้งสองแห่งเป็นเป็นโรงงานทอผ้าใหญ่ ก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ คุณตาคุณยายผมเล่าว่า ทั้งอยู่ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๐-๒๔๙๒ ซึ่งโรงงานทอผ้าทั้ง ๒ แห่ง ปิดกิจการไป หลังจากแต่งงาน เลิกทำกิจการเพราะไม่มีใครรับช่วงต่อ แต่ละท่านที่ก่อตั้งก็เริ่มชราแล้ว เท่าที่สอบถาม คนทอผ้ารุ่น ๑-๒ ตายหมดแล้ว ซึ่งทั้ง ๒ แห่งเป็นโรงเรียนสอนทอผ้าด้วย ผลิตภัณฑ์ก็มีเสื้อ ผ้าซิ่น ถุงย่าม และอีกมากมาย
ภาพที่ทุกท่านจะได้ชมต่อไปนี้คือภาพโรงงานทอผ้าในยุคนั้น และผ้าทอที่หลงเหลือผ่านสงครามโลกครั้งที่ ๒ มาโดยผมค้นพบผ้าถูกห่อไว้อย่างดี
มิ้น ณรัศมิน ขัติยะวรา(เทพมณี)
๑๖ ก.พ. ๒๕๖๓ |
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
Posted: 04/07/2020 5:56 am Post subject: |
|
|
ภาพจากอัลบั้มของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เที่ยวปักษ์ใต้ 14-24 สิงหาคม 2483 ซึ่งเป็นอัลบั้มภาพส่วนตัวของ ม.ล.ปิ่น มาลากุล ผู้อำนวยการโรงเรียนท่านแรก
ขอขอบคุณภาพจากคุณนฤมล บุญญานิตย์ (Narumon Boonyanit) หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ป้ายสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ พื้นดำ ตัวอักษรสีขาว เขียนว่า ชุมทางหาดใหญ่ HAAD YAI JUNCTION 合艾
ป้ายสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก พื้นขาว ตัวอักษรสีดำ เขียนว่า สุไหงโก-ลค SUNGEI GOLOK และอักษรจีน
|
|
Back to top |
|
|
Mongwin
1st Class Pass (Air)
Joined: 24/09/2007 Posts: 47077
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา
|
Posted: 06/07/2021 9:40 am Post subject: |
|
|
ปี พ.ศ.2475 สมาคมพาณิชย์จีนแห่งกรุงสยาม ได้ร้องขอต่อผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง ให้มีชื่อภาษาจีนที่ป้ายนามสถานีรถไฟทั่วประเทศ โดยทางสมาคมพาณิชย์จีนแห่งกรุงสยามจะเป็นผู้เขียนตัวอักษรภาษาจีนให้ โดยผู้เขียนชื่อ นายดาบยง อิงคเวทย์ ต่อมา ปี พ.ศ.2482 หลวงเสรีเริงฤทธิ์ อธิบดีกรมรถไฟในสมัยนั้นมีแนวคิดให้ยกเลิกการเขียนภาษาจีนบนป้ายนามสถานีรถไฟ ให้คงไว้แต่ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเท่านั้น และยกเลิกการเขียนชื่อภาษาจีนทั้งหมดในปี พ.ศ.2483
https://www.facebook.com/pichet.chamneam/posts/6276767455670600 |
|
Back to top |
|
|
Nakhonlampang
1st Class Pass (Air)
Joined: 29/03/2006 Posts: 3293
Location: เสนานิคม1-คลองหลวง
|
Posted: 06/07/2021 6:24 pm Post subject: |
|
|
^
ผมเพิ่งสังเกตว่าป้ายชื่อสถานีสุไหงโกลกใน reply ข้างบนถ่ายตั้งแต่ปี 2483 แล้ว ทำให้นึกย้อนไปตอนที่ผมเคยให้ความเห็นเกี่ยวกับป้ายชื่อสถานีบางซื่อ กรณีอักษรภาษาจีนบนป้ายคอนกรีตที่ถูกลบไปว่าน่าจะอยู่ในช่วงราวปี 2502 พอมาเห็นเอกสารชิ้นนี้ ประกอบกับภาพป้ายชื่อสถานีสุไหงโกลกในภาพข้างบนทำให้ผมกลับมาคิดใหม่ว่า การผลืตป้ายชื่อคอนกรีตน่าจะเริ่มมีมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว เพียงแต่มีโอกาสได้ทำไม่กี่ป้ายก็ต้องหยุดชะงักไปจากภาวะสงคราม กว่าประเทสจะฟื้นตัวและได้มีโอกาสผลิตป้ายชื่อคอนกรีตใหม่ก็หลังปี 2500 ไปแล้ว จึงเป็นคำตอบข้อสงสัยที่ว่าทำไมเราจึงพบร่องรอยอักษรจีนบนป้ายคอนกรีตที่สถานีบางซื่อเท่านั้น และถ้าป้ายชื่อสถานีบางซื่อเป็นป้ายที่มีมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จริง ก็นับว่าโชคดีที่ที่ป้ายชื่อนี้รอดจากสงครามมาได้ทั้ง 2 ป้ายนะครับ |
|
Back to top |
|
|
|