Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai.Com

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311906
ทั่วไป:13576419
ทั้งหมด:13888325
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - ประวัติ สรพ. ปากน้ำโพ
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

ประวัติ สรพ. ปากน้ำโพ
Goto page 1, 2  Next
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 5:47 pm    Post subject: ประวัติ สรพ. ปากน้ำโพ Reply with quote

ถ้าจะกล่าวถึง สรพ. ปากน้ำโพ ก็ต้องเท้าความถึงสถานีปากน้ำโพด้วย

สถานีปากน้ำโพเปิดพร้อมกับทางรถไฟสาย ลพบุรี - ปากน้ำโพ เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2448 (รศ 124)
ส่วนสถานีหนองปลิง ที่ต่อมาเป็นสถานีนครสวรรค์ นั้น เปิดเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2449 (ร.ศ. 125)

Click on the image for full size

ตอนแรกเป็นสถานีไม้ 2 ชั้น ต่อมาภายหลัง เป็นสถานีอาคารชั้นเดียว แต่มีที่ทำการแพทย์ซึ่งเปิดทุกอังคาร

สถานีนี้มีย่านใหญ่ทำให้ต้องมีหอประแจกล
Click on the image for full size
Click on the image for full size

ตอนที่เปิดมามีโรงรถจักหลังคาสังกะสี จุรถจักร ได้ 4 หัว เพราะ สถานีปากน้ำโพเป็นต้นทาง - ปลาย ทางรถไฟ ขบวน กรุงเทพ - ปากน้ำโพ และ ต่อมาก็ปากน้ำโพ - พิษณุโลก (ภายหลัง ขยายไปไปอุตรดิตถ์ แล้วก็เด่นชัย)
Click on the image for full size

เพราะเป็นต้นทางปลายทางและอยู่ติดแม่น้ำน่าน ทำให้ต้องมีหอจ่ายน้ำและ ที่เก็บฟืนซึ่งเรียงเป็นตั้งสูงถึงหอประแจและยาวตลอดย่านทางเหนือ ถึงทางใต้
Click on the image for full size
Click on the image for full size

ตอนนี้ตค้องจ่ายน้ำกันที่นี่ครับเพราะมีประปาเทศบาลแล้ว
Click on the image for full size


สมัยแรกใช้วงเวียน เส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร ต่อมาในปี 2468 จึงเปลี่ยนมาใช้วงเวียน 15.24 เมตร (50 ฟุต) เพื่อใช้กับรถจักรอีคลาสได้ เป็นประแจทำงานด้วยมือหมุนดังภาพ
Click on the image for full size
Click on the image for full size

เมื่อปี 2461-2462 ได้มีการรื้อสถานีหลวงที่สามเสนลง โดยนำหลังคาชานชลายกไปปลูกใหม่ ที่สถานีปากน้ำโพ ส่วนตัวพลับพลายกไปปลูกเป็น สถานีรามราชนิเวศน์ ที่เพชรบุรี (เลยสถานีเพชรบุรีไปทางใต้ประมาณ 1-2 กิโลเมตร ตรงทางตัดใกล้แยกต้นมะม่วง ... แต่ตอนหลังเห็นว่าโดนรื้อไปทำเป็นห้องสมุดกรมรถไฟ หลังจาก ที่สร้างพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

น่าเสียดายมาก ที่หลังคาชานชลาที่งามนั้นดดยพายุพัดพังพินาศเมื่อปี 2534 Crying or Very sad Sad


Last edited by Wisarut on 23/10/2007 7:21 pm; edited 3 times in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 5:54 pm    Post subject: Reply with quote

ต่อมาในปี 2478 ได้มีการตั้ง สรจ. ปากน้ำโพขึ้น เพื่อรองรับการจเดินรถสายเหนือที่ทวีมากขึ้น โดยได้รถปั้นจันประจำการไว้ 2 หลังคือ

1. รถโบกี้ปั้นจั่น มือเบอร์ 11 ประจำการ กรมรถไฟ เมื่อ 1 ตุลาคม 2466

Click on the image for full size

เจ้าโบกี้ปั้นจั่นมือเบอร์ 11 นั้นต้องใช้คนงาน 6 คน โดย 4 คนหมุนฟันเฟือง อีก 2 คน คุมตัวปั้นจั่นให้ได้ทิศทางตามที่กำหนด และ คุมไม่ให้เกิดการ Overload จนพัง ปั้นจั่นดังกล่าว ยก รถตญ. 10 ตันได้สบายมาก เพราะพิกัดทำได้ 12 ตัน แตค่วิ่งในย่านได้แค่ 5 kph ทำให้ ต้องพ่วงท้ายรถจักร

2. รถโบกี้ปั้นจั่นไอน้ำ เบอร์ 24 ประจำการกรมรถไฟ ปี 2474 เพื่อให้สอดคล้องกับการที่กรมรถไฟสั่งรถโบกี้โดยสารที่ทำจากเหล็กจาก Metrocamell ประเทศอังกฤษ แต่ปี 2473 รถปั้นจั่นนี้ยกได้ 25 ตันแถมใช้แค่ 2 คนก็ยกได้ แล้ว คนแรก คุมปั้นจั่น คนที่ 2 คุม หม้อน้ำและเติมฟืน

Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 6:18 pm    Post subject: Reply with quote

การคุมปั้นจั่นไอน้ำใช้สายตากะระยะ ให้ดีๆ อย่าให้ยกเกินพิกัด 25 ตันเป็นใช้ได้

Click on the image for full size

จากนั้น ให้คุมคันยกไปซ้ายไปขวา โยกขึ้นลง ตามควร อย่าให้เกินพิกัด 25 ตัน
Click on the image for full size

คนคุมหม้อน้ำ ต้องคอยดูระดับน้ำให้ดีๆ อย่าให้พร้อง ถ้าพร่องให้เติมน้ำเย็นเพิ่มเข้าไป
ให้เต็มแท่งแก้ว
Click on the image for full size

เมื่อทำไอน้ำได้ดีแล้วก็โยก คันบังคับไอน้ำไป
Click on the image for full size

ถ้าแรงดันไอเกินกำหนด 100 ปอนด์/ตารางนิ้ว ให้หมุนก๊อก ปล่อยไอออกไปเสียบ้างอย่าให้ไอเกินกำหนด
Click on the image for full size

ถ้ามืดก็เดินเครื่องปั่นไฟ บนปั้นจั่นก็ได้
Click on the image for full size

อย่างไรก็ตาม เจ้าปั้นจั่นไอน้ำนี้ได้คยสร้างอภินิหารยก คุณปู่ยีอี ที่ตกในย่านสถานีปากน้ำโพมาแล้ว งานนี้ใช้แค่ 2 วันก็ยกรถจักรนยีอีให้ขึ้นมาได้ แต่ต้องใช้ไม้หมอนหนุนขึ้นมา ไม่ต้องรอให้ ปั้นจั่นที่ศิลาอาศน์ มายกให้ Laughing Razz


Last edited by Wisarut on 23/10/2007 7:45 pm; edited 1 time in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 6:48 pm    Post subject: Reply with quote

สมัยสงคราม กองทัพสัมพันธมิตร (ฝ่ายสหประชาชาติ) ได้ทิ้งระเบิดลงปากน้ำโพ ดังรูป

http://www.acseac.co.uk/gallery/index.php?action=showpic&cat=95&pic=419
สถานีปากน้ำโพ 16 พฤศจิกายน2487 (ต้อนฉบับเขียนเปน 16 พฤศจิกายน 2488)

ย่านสถานีปากน้ำโพ 16 พฤศจิกายน2487
http://www.acseac.co.uk/gallery/index.php?action=showpic&cat=95&pic=432

ถล่มปากน้ำโพ 16 พฤศจิกายน 2487
http://www.acseac.co.uk/gallery/index.php?action=showpic&cat=95&pic=433
http://www.acseac.co.uk/gallery/index.php?action=showpic&cat=95&pic=434

// ------------------------------------------------------------------------------------------------
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 6:56 pm    Post subject: Reply with quote

ตอนนี้ สถานีปากน้ำโพก็โดนน้ำท่วมถล่มบ้านพักเอาแบบนี้ วันดีคืนดี พี่เห่า พี่เหลือม และ อ้ายเคี่ยม มาร่วมวงไพบูลย์กันในบ้านพักรถไฟ จนคนรถไฟอยู่ไม่ได้ เอา กำมะถันมาไล่พี่เห่า พี่เหลือมก็ไม่ไหว คราวนี้คงได้อยู่แพแน่ๆ ถ้า ครม. ไม่อนุมัติงบให้สร้างบ้านพักที่หนองปลิง หรืองบประมาณเพื่อยกเสาเรือนพักไปอยู่ที่หนองปลิงได้ Sad


Click on the image for full size
Click on the image for full size
Click on the image for full size

ขณะนี้ต้องตั้งเต็นท์หนีน้ำแล้วอย่างที่เห็น
Click on the image for full size

แม้แต่ทางไปท่าข้าวกำนันทรงก็ไม่เว้น
Click on the image for full size

ถ้าขืนปล่อยไว้แบบนี้ ครฟ. ปากน้ำโพต้องมีหางเป็นปลา และ ครีบงอกที่แก้ม นอกหเหนือ จก มือเท้ามีพังผืด เพื่อว่ายน้ำได้ ... กลายเปนมนุษย์มัจฉาเต็มตัวก็คราวนี้เอง Embarassed Sad


แม้แต่ RUnning Room ก็ไม่ชวนให้ คนขับและช่างเครื่อง อยากจะพัก Sad
Click on the image for full size

หนักเข้า น้องปลวงก็เอาโรงรถจักรปากน้ำโพเป็นอาหารซะแล้ว Sad Embarassed Laughing
Click on the image for full size


Last edited by Wisarut on 23/10/2007 7:44 pm; edited 2 times in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 7:02 pm    Post subject: Reply with quote

ขณะนี้ สรจ. ปากน้ำโพได้รับงานซ่อมรถพ่วงเล้กๆ น้อยๆ ดังที่เห็นในภาพ

รถ บรช 35 ใช้ขนเครื่องมือซ่อมรถในสนาม
Click on the image for full size


รถตญ. แบบ CH เบอร์ 381
Click on the image for full size

เครื่อองอัดแหวน
Click on the image for full size

เชื่อไหมครับว่า โรงงานปากนำโพทำพเครื่อง Blower แบบนี้เองได้
Click on the image for full size

แหม ... ถ้าได้เครื่องกลึงแบบ CNC ที่ใช้คอมพิวเตอร์คุม มากลึงล้อพวกนี้หละก็เรี่ยมไปเลย
Click on the image for full size

ที่นี่ก็เป้นจุดเติมน้ำมันด้วยนะ
Click on the image for full size

บ่อนี้เขาว่ามีญี่ปุ่นมาจมน้ำตายที่บ่อในโรงรถจักรนี้ด้วย Shocked
Click on the image for full size


ที่นี่เขาซ่อมล้อรถจักรกันแบบนี้
Click on the image for full size

ถ้าหน่วยซ่อมอื่นมีเครื่องมือที่ไม่ใช้ จะบริจาคมาช่วยราชการ โรงซ่อมรถพ่วงปากน้ำโพก็จะยินดีมากเพราะจะได้ทำในสางที่คนโรงงานมักกะสันเขาทำกันแต่รุ่นปู่รุ่นพ่อได้ต่อเนื่องไปนะ Laughing Embarassed


Last edited by Wisarut on 23/10/2007 7:28 pm; edited 2 times in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 7:12 pm    Post subject: Reply with quote

ดูเอาเถอครับว่าเมืองปากน้ำโพ นั้นน้ำท่วมขนาดไหน ที่เห็นงามๆ แบบนี้จริงๆ ชาวบ้านแทบจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้นะครับ

อรุณรุ่งที่คลองบางปลากด
Click on the image for full size
อรุณรุ่งที่ ทับกฤช
Click on the image for full size

เมืองนครสวรรค์ยามหน้าน้ำ
Click on the image for full size
Click on the image for full size

แม่น้ำน่านยามน้ำหลาก
Click on the image for full size

น้ำท่วมทับกฤช
Click on the image for full size

น้ำท่วมชุมแสง
Click on the image for full size

บึงบรเพ็ดยามน้ำหลาก
Click on the image for full size
Click on the image for full size

ประตูน้ำที่เป็นตัวสร้างบึงบรเพ็ดขึ้นมา
Click on the image for full size

สิ่งที่เคลื่อนที่ไปมายามน้ำท่วมปากน้ำโพ
Click on the image for full size


Last edited by Wisarut on 23/10/2007 7:22 pm; edited 1 time in total
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 7:20 pm    Post subject: Reply with quote

มาดูอะไรที่ผ่อนคลายบ้างดีกว่า

สะพานปากนำโพที่เห็นนี้สร้างใหม่โดยญี่ปุ่นเมื่อปี 2491 เพื่อแทนสะพานเก่าที่โดนกองทัพสัมพันธมิตรถล่มเมื่อปี 2488
Click on the image for full size

สะพาน ปากน้ำโพ เมื่อมีขบววนรถน้ำมันไปบึงพระผ่านมา
Click on the image for full size

รถต็อก โค้งปากน้ำโพ
Click on the image for full size

รถปั้นจั่นมือจำลองทำด้วยไม้
Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message
tuie
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 09/07/2006
Posts: 12156
Location: สถานีบ้านตุ้ย

PostPosted: 23/10/2007 9:09 pm    Post subject: Reply with quote

ขอบคุณ คุณวิศรุต ที่กรุณาเรียบเรียงเรื่องราวสาระความรู้เกี่ยวกับแขวงฯปากน้ำโพ ซึ่งชาวคณะ RFT เพิ่งจะเข้าเยี่ยมชมครับ Very Happy

ที่แห่งนี้มีประวัติศาสตร์ ความเป็นมาอันยาวนาน ถึงบุคลากรจะประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติเป็นประจำ ชีวิตความเป็นอยู่ยากลำบากไปบ้าง แต่ทุกท่านต่างไม่ย่อท้อต่อปัญหา อุปสรรค ความไม่สะดวกประการต่างๆ จึงต้องขอแสดงความชื่นชมมา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ clap2

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ปล. มีแมงหวี่ฝากถามมาว่า คุณวิศรุตปีนขึ้นไปเก็บภาพกลไกบนรถปั้นจั่นได้อย่างไร Question ออกจะสูงขนาดนั้น Shocked ผมจะอธิบายวิธีการปีนขึ้นให้ฟัง แมงหวี่อาจไม่เข้าใจ จึงขออนุญาตนำภาพมาประกอบการอธิบายในกระทู้นั่งยางฯ ของพี่ว๊ากได้ไหมครับ หากไม่ค้านภายใน ๓ นาที นับจากนี้ ถือว่าผู้เสียหายอนุญาตโดยจำใจ เอ๊ย! โดยปริยายนะครับ Laughing
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43714
Location: NECTEC

PostPosted: 23/10/2007 9:24 pm    Post subject: Reply with quote

tuie wrote:
ขอบคุณ คุณวิศรุต ที่กรุณาเรียบเรียงเรื่องราวสาระความรู้เกี่ยวกับแขวงฯปากน้ำโพ ซึ่งชาวคณะ RFT เพิ่งจะเข้าเยี่ยมชมครับ Very Happy

ที่แห่งนี้มีประวัติศาสตร์ ความเป็นมาอันยาวนาน ถึงบุคลากรจะประสบปัญหาจากภัยธรรมชาติเป็นประจำ ชีวิตความเป็นอยู่ยากลำบากไปบ้าง แต่ทุกท่านต่างไม่ย่อท้อต่อปัญหา อุปสรรค ความไม่สะดวกประการต่างๆ จึงต้องขอแสดงความชื่นชมมา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ clap2

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ปล. มีแมงหวี่ฝากถามมาว่า คุณวิศรุตปีนขึ้นไปเก็บภาพกลไกบนรถปั้นจั่นได้อย่างไร Question ออกจะสูงขนาดนั้น Shocked ผมจะอธิบายวิธีการปีนขึ้นให้ฟัง แมงหวี่อาจไม่เข้าใจ จึงขออนุญาตนำภาพมาประกอบการอธิบายในกระทู้นั่งยางฯ ของพี่ว๊ากได้ไหมครับ หากไม่ค้านภายใน ๓ นาที นับจากนี้ ถือว่าผู้เสียหายอนุญาตโดยจำใจ เอ๊ย! โดยปริยายนะครับ Laughing


กรณีเช่นนี้ ก็ใช้แรงแขนไต่ขึ้นแล้วลงโดยอย่าหันหัวลงไปข้างล่างเหมือนลิง นะครับ
Back to top
View user's profile Send private message
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Goto page 1, 2  Next
Page 1 of 2

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©