RailServe.Com

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Ads Service

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311238
ทั่วไป:13181447
ทั้งหมด:13492685
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - ว่าด้วยเรื่อง 'รางหัก'
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

ว่าด้วยเรื่อง 'รางหัก'
Goto page Previous  1, 2, 3, 4, 5  Next
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
rodfaithai
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 10/07/2006
Posts: 1346

PostPosted: 28/07/2006 5:25 pm    Post subject: Reply with quote

ขนาดนั้นเลยหรือครับ

ผมเคยได้ยินว่าเครื่องกลมีวิชา Fracture Analysis นี่ครับ



เอาเป็นว่า.....

ในกรณีนี้

เราตั้ง Assumption ว่า

1 Sleeper =>Rigid
2 Ballast =>Rigid
3 Embankment =>Rigid

เราจะดูแค่ Deflection ของรางแต่ละขนาด เมื่อรับ Axle Load ขนาดต่างๆ กัน

ก็พอครับ



ถ้าจะให้ง่าย

เอาไปให้นักเรียน (ที่เรียน Mechanic of Solid มาแล้ว) ทำสิครับอาจารย์
รับรองนักเรียนทำประเดี๋ยวเดียวเสร็จ

Shocked
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42629
Location: NECTEC

PostPosted: 28/07/2006 6:57 pm    Post subject: Reply with quote

ราง 100 ปอนด์ ถมหินหนา 25- 30 เซนติเมตร ก็รับโหลดเพลา ได้ 20 ตันน่อ
Back to top
View user's profile Send private message
Cummins
2nd Class Pass
2nd Class Pass


Joined: 28/03/2006
Posts: 719
Location: มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา

PostPosted: 02/08/2006 2:26 pm    Post subject: ตอบพี่มิ้งค์ Reply with quote

วิชาที่พี่มิ้คว่านั่นมันเรียนในระดับปริญญาโทของวิศวกรรมเครื่องกลในสายกลศาสตร์วัสดุครับเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ชั้นสูงล้วน ๆ เลยขนาดน้องที่เรียนด้วยกันเรียกว่าไฟไนต์อีลีเมนต์ได้เกรด 4 มาไปเจอแฟคเจอร์นี่หงายหลังพี่ แล้วยังอีกวิชานึกที่คู่กันคือ พลาสติก หรืออีลาสติกนี่แหละผมจำไม่ได้เพราะไม่ได้เรียนสายนี้ครับ ส่วนในเรื่องของการคำนวนความโก่งของรางเพื่อหาความเค้นดัดนั้นเราไม่สามารถใช้การคำนวนในลักษณะคานรับแรงตามปกติได้เพราะการถ่ายเทน้ำหนักจากรถลงสู่ราง จากรางไปหาไม้หมอน ซึ่งไม้หมอนวางอยู่บนหินอีกทีนึงทีนี้น้ำหนักก็จะกระจายลงไปที่หินก่อนที่จะลงไปที่คันทาง อย่างนี้ต้องไปคุยกับ Railway Engineer แล้วล่ะพี่
_________________
อดีตโชเฟอร์ล้อเหล็ก
Back to top
View user's profile Send private message
rodfaithai
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 10/07/2006
Posts: 1346

PostPosted: 02/08/2006 2:39 pm    Post subject: Reply with quote

เอ๋

คลับคล้ายคลับคลาว่า ที่หาดใหญ่มีตั้งแต่ป.ตรี นี่นา

แต่คงแค่อินโทรฯ มั๊ง

มันคงต้องใช้ F/E แหละ

ผมถึงได้บอกว่า

เราตั้ง Assumption ว่า

- หมอน Rigid
- หิน Rigid
- คันทาง Rigid

ไง

เพื่อจะได้วิเคราะห์เฉพาะรางล้วนๆ
หนังสือผมอยู่อีกบ้านนึง ซึ่งยังไม่ไปดูเลยว่าน้ำท่วมไปหมดแล้วหรือยัง

Shocked
Back to top
View user's profile Send private message
conrail
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 28/03/2006
Posts: 1271
Location: Bangplad , Bangkok

PostPosted: 02/08/2006 3:02 pm    Post subject: Reply with quote

ติดตามมาตลอดสำหรับเรื่องนี้ แต่เพราะว่าไม่สันทัดเท่ากับท่านอื่นๆเลยไม่ได้โพสร่วมด้วย

อย่างไรก็ตาม จากการได้พบเห็นสภาพทางอยู่เสมอ บวกกับได้เคยศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานเกี่ยวกับทางมาบ้างเล็กน้อย ในส่วนของผมคงจะตอบได้บ้างดังนี้

อย่างที่อาจารย์กิตติกล่าวมา ว่าทางรถไฟจะประกอบไปด้วย คันทางที่เป็นดินอัดแน่นถมสูงขึ้นมา แล้วนำเอาหินมาปูโรยหน้า ส่วนจะใช้หินที่หนาเท่าไหร่ และปูหนาแค่ไหน อันนี้ไม่แน่ใจครับ ลืมไปแล้ว... Embarassed จากนั้นก็นำไม้หมอนมาวาง ตามด้วยราง แล้วเอาหินลงอีกทีพร้อมกับทำการอัดหินให้ไม้หมอนถูกอัดแน่นให้มีความเรียบเสมอกัน พร้อมทั้งดัดรางให้เข้ารูป

โดยปกติ เมื่อมีน้ำ เช่น น้ำฝนตกมายังทางรถไฟ น้ำจะต้องไหลออกจากทางโดยซึมออกจากแนวหินที่รองรับไม้หมอนไว้ ลงไปยังข้างทาง ต้องไม่ให้มีน้ำขังอยู่ภายในทางเพราะจะทำให้เกิดปัญหาทางทรุด เนื่องจากว่า ในสภาพทั่วไปแล้ว เมื่อมีขบวนรถวิ่งผ่านประจำ โดยเฉพาะสายที่มีความหนาแน่นมาก ย่อมที่จะมีการสั่นสะเทือนเกิดขึ้นมากว่าปกติ การสั่นสะเทือนนี้จะทำให้เกิดการกดตัวของไม้หมอนกับชั้นหินที่รองอยู่ข้างใต้อยู่เสมอ เมื่อถูกไม้หมอนกดกระแทกอยู่ประจำ ก้อนหินจะมีโอกาสถูกบดให้แตกตัวออก จนบางส่วนจะกลายสภาพเป็นผง เมื่อมีฝนตกจนมีน้ำเข้ามาผสมด้วยจะทำให้ทางบริเวณนี้กลายสภาพเป็นขี้โคลน โดยที่ไม้หมอนบริเวณนี้จะมีช่องว่างอยู่เพราะชั้นหินที่รองรับนั้นถูกอัดจากแตกไปแล้ว เมื่อขบวนรถวิ่งผ่านจะเกิดการกระแทกตลอดเวลา ยิ่งความเร็วมากแรงที่กระทำต่อรางก็มาตามไปด้วย โอกาสที่บังใบล้อจะลอยปีนราง หรือ รางหักนั้นย่อมมีโอกาสจะเกิดขึ้นได้

ดังนั้นจึงจะต้องมีการล้างหิน และอัดหิน จะด้วยคนหรือ เครื่องจักรก็แล้วแต่ยุคสมัย ส่วนวาระการจัดการนั้น อันนี้ไม่ทราบว่าคิดอย่างไรครับ

สภาพทางที่เป็นขี้โคลนเช่นนี้นั้น ในปัจจุบันสามารถพบได้ทั่วไป ทั้งในเขตกรุงเทพและต่างจังหวัด โดยเฉพาะสายอิสาน จากช่วงมาบกะเบา - คลองไผ่
Back to top
View user's profile Send private message
nathapong
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/03/2006
Posts: 3515
Location: Ayuthaya - Lamlukka - Navanakhon - Silom

PostPosted: 02/08/2006 4:21 pm    Post subject: Reply with quote

พี่ rotfaithai พูด
“หนังสือผมอยู่อีกบ้านนึง ซึ่งยังไม่ไปดูเลยว่าน้ำท่วมไปหมดแล้วหรือยัง”

สงสัยเป็น บ้านเล็กบ้านน้อย อะเป่าพี่...... บ้านใหญ่ ใจดีจัง น่อ.. อิอิ... Laughing

อ่า ไหนๆ ก็ ตกหลุมตกร่อง มาอยู่ในกลุ่ม คนที่ บ้ารถไฟไทย ด้วยกันแล้ว
ขอฝากพี่ท่าน มาขยายความ
เรื่อง การสร้างทางรถไฟ เริ่มจาก ราง หมอน และอุปกรณ์ หิน และก็คันทาง หนะพี่...... นะ นะ
Embarassed
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
PaLm
3rd Class Pass
3rd Class Pass


Joined: 18/07/2006
Posts: 143
Location: ทางรถไฟสายเก่า

PostPosted: 30/08/2006 1:24 pm    Post subject: Reply with quote

KTTA-50-L wrote:
มีของแปลกๆมาให้ดูครับ ถ่ายไว้ปี พ.ศ.2547 สมัยนั้นยังหัดใช้กล้องดิจิตอลอยู่เลยอาจจะห่วงแตกนิดๆ Laughing

Click on the image for full size

อันนี้ไม่ใช่รางหักนะครับ เป็นการต่อรางชนิดนึงเพื่อลดปัญหาเรื่องการหดและขยายตัวของราง (ทำแบบการต่อรางของรถไฟชิงกันเซนครับ) จุดที่ถ่ายอยู่ทางล่องใหม่แถวๆสะพานจักรีครับ 8)


ถ้าต่อรางแบบนี้รถคงจะวิ่งนุ่มนวลขึ้นโดยที่ไม่ต้องตกร่องระหว่างรอยต่อของราง ทำให้กินข้าวบนรถแดวูอร่อยหน่อยใช่ไหมครับ Laughing
Back to top
View user's profile Send private message
rodfaithai
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 10/07/2006
Posts: 1346

PostPosted: 30/08/2006 9:14 pm    Post subject: Reply with quote

Quote:
รถคงจะวิ่งนุ่มนวลขึ้นโดยที่ไม่ต้องตกร่องระหว่างรอยต่อของราง


ร่องตรงรอยต่อ (เล็กๆ แค่นั้น) ไม่น่ามีผล ให้ (ผู้โดยสารรู้สึกว่า) ตกร่องได้นะครับ
Back to top
View user's profile Send private message
narita_express
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 28/03/2006
Posts: 1170
Location: PSU. Original Campus

PostPosted: 31/08/2006 8:41 am    Post subject: Reply with quote

KTTA-50-L wrote:
มีของแปลกๆมาให้ดูครับ ถ่ายไว้ปี พ.ศ.2547 สมัยนั้นยังหัดใช้กล้องดิจิตอลอยู่เลยอาจจะห่วงแตกนิดๆ Laughing

Click on the image for full size

อันนี้ไม่ใช่รางหักนะครับ เป็นการต่อรางชนิดนึงเพื่อลดปัญหาเรื่องการหดและขยายตัวของราง (ทำแบบการต่อรางของรถไฟชิงกันเซนครับ) จุดที่ถ่ายอยู่ทางล่องใหม่แถวๆสะพานจักรีครับ 8)


การวางรางต่อกันแบบนี้ เป็นการวางที่ใช้ในมากในประเทศญี่ปุ่นครับ ผมเคยถ่ายที่ย่านสถานีเรียวโกคุไว้ 2 - 3 ภาพ ซึ่งเป็นเส้นทางของรถสายโซบุที่วิ่งจะชิบะเข้าไปโตเกียว จะลองไปรื้อมาดูครับ แต่ต้องใช้เวลานิดนึง แล้วจะลองเอามาดูเปรียบเทียบกันดูนะครับ แต่การตัดและวางรางเชื่อมต่อกันค่อนข้างสวยงามและละเอียดทีเดียวสมกับนิสัยใจคอคนญี่ปุ่นเลยละครับ
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website Yahoo Messenger MSN Messenger
rodfaithai
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 10/07/2006
Posts: 1346

PostPosted: 16/09/2006 5:03 pm    Post subject: Reply with quote

คอยพบกับ

การวิเคราะห์การรับน้ำหนักของรางรถไฟ

เร็วๆ นี้


ปล.

เฮียวิซบอกว่า "หมอนแต่ละอันห่างกัน 60 ซ.ม." ใช่ไหมเอ่ย ใครรู้ช่วย Confirm ที
Back to top
View user's profile Send private message
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3, 4, 5  Next
Page 4 of 5

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©