RailServe.Com

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai.Com

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:312060
ทั่วไป:13656066
ทั้งหมด:13968126
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com: เรื่องพิเศษ

ค้นหาในหัวข้อนี้:   
[ กลับไปที่หน้าแรก | กรุณาเลือกหัวข้อใหม่ ]



ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 19) : รถไฟความเร็วสูง 16
 
เรื่องพิเศษ

     มาถึงตอนสุดท้าย พร้อมกับการมาถึงเมืองไทย ของรถไฟฟ้าด่วนสนามบินสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) ชุดแรก จำนวน 8 คัน เมื่อสัปดาห์ก่อน สำหรับบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" โดย อาจารย์นคร จันทศร ซึ่งจะว่าด้วยบทสรุป ในเรื่องของรถไฟความเร็วสูง และบทสรุปของการบระชุม POINT ซึ่งก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ด้วยบทความชุดนี้ คงจะทำให้ผู้อ่านได้รับสาระความรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับเรื่องของเทคโนโลยี รถไฟความเร็วสูง ที่มีใช้งานอยู่ในปัจจุบันนี้ได้บ้าง ไม่มากก็น้อย

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) ซึ่งในสัปดาห์นี้ เสนอเป็นตอนสุดท้าย ซึ่งท่านใดที่พลาดในตอนก่อนหน้านี้ สามารถติดตามอ่านทุกตอนได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ และโปรดคอยติดตามผลงานบทความ จากอาจารย์ฯ ได้อีก ในโอกาสต่อไป

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 19) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 22 Oct 07@ 06:00:00 +07 (1951 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 18) : รถไฟความเร็วสูง 15
 
เรื่องพิเศษ

     ใกล้มาถึงโค้งสุดท้ายแล้ว สำหรับบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" โดย อาจารย์นคร จันทศร ซึ่งเหลือเพียงตอนหน้า อีกตอนเดียว บทความชุดนี้ ก็จะจบลง ในสัปดาห์นี้ เป็นตอนที่ 18 ซึ่งจะว่าด้วยเรื่อง การต่อสู้ทางเทคโนโลยี และการเกทับทางด้านการตลาด ระหว่าง รถไฟแม่เหล็ก (Maglev) จากค่ายญี่ปุ่น และเยอรมัน ที่ยังคงเข้มข้น ต่อเนื่องมาเรื่อยๆ เพราะต่างฝ่าย ต่างก็ดึงเอาจุดเด่นของตัวเอง และจุดด้อยของคู่แข่ง ออกมาถล่มกัน โดย ทางฝั่งเยอรมัน ก็อ้างว่า Super Conductor ของญี่ปุ่น สิ้นเปลืองพลังงาน ค่าก่อสร้างแพง และเส้นแรงแม่เหล็กที่เข้มข้น จะเป็นอันตรายกับผู้โดยสาร ส่วนของญี่ปุ่น ก็อ้างว่า ของเยอรมัน ยกตัวขบวนรถ ลอยสูงจากพื้นเพียงเล็กน้อยในเวลาวิ่ง ซึ่งก็อันตรายกว่า เป็นต้น

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 18) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 15 Oct 07@ 06:00:00 +07 (1881 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 17) : รถไฟความเร็วสูง 14
 
เรื่องพิเศษ

     ในตอนที่แล้ว ตอนที่ 16 หลายๆ ท่านก็คงจะได้รู้จัก กับหลักการทำงานเบื้องต้น สำหรับการเคลื่อนที่ ของรถไฟความเร็วสูง แบบแม่เหล็ก หรือ Maglev กันไปพอสมควรแล้ว แต่จะเป็นในเรื่องแบบธรรมดา ในสัปดาห์นี้ ใน ตอนที่ 17 ของบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" โดย อาจารย์นคร จันทศร จะแนะนำถึงรายละเอียด ข้างในลึกๆ ของรถไฟ Maglev ในแบบญี่ปุ่น ที่ใช้ ตัวนำยิ่งยวด (Super Conductor) เป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ ในการทำให้รถไฟเคลื่อนที่ และประคองให้วิ่งไปตามเส้นทาง ซึ่งสามารถยกขบวนรถไฟ ให้ลอยสูงจากพื้นได้ ถึง 10 ซ.ม. ซึ่งสูงกว่าของเยอรมัน ถึง 10 เท่า

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 17) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Sunday 07 Oct 07@ 21:00:00 +07 (2271 ครั้ง)
(มีต่อ... | 1 ข้อคิดเห็น | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 16) : รถไฟความเร็วสูง 13
 
เรื่องพิเศษ

    ในตอนที่ 16 เกี่ยวกับรถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก จากบทความของ อาจารย์นคร จันทศร "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" ประจำสัปดาห์นี้ จะพาทุกท่าน ไปทำความรู้จักกับหลักการทำงาน ของรถไฟแม่เหล็ก ว่าสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างไร ทั้งๆ ที่ไม่มีล้อ เหมือนรถไฟความเร็วสูงปกติ และรถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก ของญี่ปุ่น (HSST) และเยอรมัน ที่ไปสร้างให้จีน (Transrapid) มีความแตกต่าง ในหลักการ ของการเคลื่อนที่ไปบนเส้นทางอย่างไรบ้าง

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 16) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Tuesday 02 Oct 07@ 08:00:00 +07 (2248 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 15) : รถไฟความเร็วสูง 12
 
เรื่องพิเศษ

     หลังจากที่ได้รู้จัก กับรถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก หรือ Maglev กันไปหลายตอนแล้ว ในสัปดาห์นี้ บทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" ของ อาจารย์นคร จันทศร ใน ตอนที่ 15 จะเริ่มพาทุกท่าน ไปทำความรู้จัก กับประเภทของแม่เหล็ก ที่นำมาใช้งาน ว่ามีในรูปแบบใดบ้าง ซึ่งก็จะทำให้เราได้ทราบว่า รถไฟ Maglev จากเยอรมัน ใช้ระบบใด ซึ่งแตกต่างจากค่ายของญี่ปุ่น อย่างไรบ้าง

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 15) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Friday 21 Sep 07@ 07:00:00 +07 (1918 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 

19 เรื่อง (4 หน้า, 5 เรื่องต่อหน้า)
[ 1 | 2 | 3 | 4 ]


Languages

 
เลือกรูปแบบภาษา:

English Thai
 

Follow Us

 
Facebook Twitter
 

User Info

 
สวัสดี Guest


User ID

Password


Security Code
Enter Code

Type Security Code
 

ข้อมูลสมาชิก

 · สมาชิกวันนี้

0

 · สมาชิกเมื่อวาน

0

 · สมาชิกรออนุมัติ

0

 · สมาชิกทั้งหมด

2670


สมาชิกใหม่ล่าสุด
 01:06/09/2016wanwis
 02:05/09/2016TingHon
 03:29/08/2016Tanakrit
 04:29/08/2016yokpalm
 05:29/08/2016munco645utt

ผู้ที่กำลังใช้งานขณะนี้

 สมาชิก (0%)

 ทั่วไป (0%)

 ทั้งหมด online

0


เข้าใช้งานมากที่สุด

 · ทั้งหมด

4353

 · สมาชิก

0

 · ทั่วไป

4353


สถิติการเข้าชม
 · วันนี้

48667

 · เมื่อวาน

48510

 · ทั้งหมด

328430026


สถิติการเข้าชมเฉลี่ย
 ·  ต่อชั่วโมง

1,835

 ·  ต่อวัน

40,870

 ·  ต่อเดือน

1,244,053

 ·  ต่อปี

14,928,638


เวลาของระบบ
 · เวลา

18:05:50

 · วัน

10/01/25

 · เขตเวลา

GMT + 7

 

Top Posters

 
   Mongwin 
 Posts: 
 47357 

   Wisarut 
 Posts: 
 44020 

   tuie 
 Posts: 
 12156 

   CivilSpice 
 Posts: 
 11192 

   black_express 
 Posts: 
 10060 

   ExtendeD 
 Posts: 
 9054 

   heerchai 
 Posts: 
 7730 

   alderwood 
 Posts: 
 6593 

   pattharachai 
 Posts: 
 6536 

   ksomchai 
 Posts: 
 6384 

 

Survey

 
ถ้าต้องเลือก Mega project ของรถไฟไทยในอนาคต คุณอยากได้อะไร ?

รถไฟความเร็วสูง (HST)
Rehab ทางรถไฟเดิม
สร้างทางคู่ทั้งประเทศ
จัดซื้อรถจักร/รถพ่วงใหม่
ก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่
ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน



ผลสำรวจ
แบบสำรวจอื่นๆ

จำนวนผู้ลงคะแนน: 1957
คำแนะนำ: 6