Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai Gallery in Facebook

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:312060
ทั่วไป:13655573
ทั้งหมด:13967633
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com: เรื่องพิเศษ

ค้นหาในหัวข้อนี้:   
[ กลับไปที่หน้าแรก | กรุณาเลือกหัวข้อใหม่ ]



ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 14) : รถไฟความเร็วสูง 11
 
เรื่องพิเศษ

    เข้าสู่ตอนที่ 14 สำหรับเรื่องราวน่ารู้ และที่มาที่ไปของรถไฟความเร็วสูง กับบทความของ อาจารย์นคร จันทศร "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" ซึ่งก็ยังคงว่าด้วยเรื่องราว ของรถไฟแม่เหล็ก หรือ Maglev กันอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะตอนนี้ จะกล่าวถึงว่า จริงๆ แล้วประเทศใดกันแน่ ที่เริ่มศึกษาค้นคว้า วิจัย เกี่ยวกับรถไฟ Maglev มาเป็นเวลายาวนาน แล้วทำไมประเทศ ที่มีเทคโนโลยี รถไฟความเร็วสูงระดับโลก ประเทศนั้น ถึงยังไม่ยอมนำเอาระบบรถไฟ Maglev มาใช้แบบเป็นเรื่องเป็นราว ปล่อยให้เยอรมัน แซงหน้าขึ้นนำไปก่อน โดยเหตุผล มาจากเรื่องของเทคโนโลยีที่ยังไม่ลงตัว หรือ เหตุผลทางการตลาด กันแน่

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 14) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Wednesday 12 Sep 07@ 09:00:00 +07 (1903 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 13) : รถไฟความเร็วสูง 10
 
เรื่องพิเศษ

     ติดตามเรื่องราวของ รถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก หรือ Maglev กันต่อ กับบทความของ อาจารย์นคร จันทศร ในตอนที่ 13 ซึ่งจะกล่าวถึงที่มาที่ไป ของรถไฟความเร็วสูง Maglev ของประเทศจีน ซึ่งได้นำเอาเทคโนโลยี ของประเทศเยอรมันมาใช้ โดยจีนเอง ก็มุ่งหวังเป็นหนักหนาว่า ด้วยเทคโนโลยีนี้ จะทำให้จีน เป็นชาติแรกในโลก ที่เปิดใช้รถไฟ Maglev อย่างเป็นทางการ แบบจริงๆ จังๆ และดูสมศักดิ์ศรี ต่อการก้าวขึ้นสู่ ความเป็นประเทศที่เป็นผู้นำ อีกประเทศหนึ่งของโลก

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 13) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 03 Sep 07@ 05:00:00 +07 (1778 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 12) : รถไฟความเร็วสูง 9
 
เรื่องพิเศษ

     บทความของ อ.นคร จันทศร สำหรับสัปดาห์นี้ เป็นตอนที่ 12 โดยในตอนนี้ จะเริ่มเข้าสู่เรื่องราว วิวัฒนาการของรถไฟความเร็วสูง ในอีกระดับหนึ่ง ที่สามารถแล่นได้เร็วมากกว่า 350 กม./ชม. และที่สำคัญก็คือ รถไฟความเร็วสูงที่ว่านี้ "ไม่มีล้อ" ดังนั้น จึงไม่สามารถเป็นขบวนรถไฟประเภทใดได้ นอกจาก "รถไฟแม่เหล็ก" หรือ "Magnatic Levitation Train (Maglev)" ที่เราอาจจะเคยได้ยินชื่อเสียง กันมาบ้างแล้วนั่นเอง

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 12) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 27 Aug 07@ 09:00:00 +07 (1943 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 11) : รถไฟความเร็วสูง 8
 
เรื่องพิเศษ

     บทความของ อ.นคร จันทศร สำหรับสัปดาห์นี้ เป็นตอนที่ 11 ต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้ว ที่อาจารย์ได้กล่าวถึง รถไฟความเร็วสูง ของประเทศสหรัฐอเมริกา ค้างเอาไว้ มาดูกันว่า ทำไมข่าวคราว และชื่อเสียงเกี่ยวกับ รถไฟความเร็วสูง จากประเทศนี้ ถึงได้ดูเงียบเหงาและซบเซา ผิดกับทางด้านยุโรปอย่างฝรั่งเศส หรือญี่ปุ่นจากซีกโลกตะวันออก อะไร คืออุปสรรคอันสำคัญ ที่ทำให้รถไฟความเร็วสูงของสหรัฐอเมริกา ไม่ค่อยได้รับความนิยม เมื่อเทียบกับยุโรป

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 11) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 20 Aug 07@ 11:00:00 +07 (1862 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 10) : รถไฟความเร็วสูง 7
 
เรื่องพิเศษ

     จากรถไฟความเร็วสูงของยุโรป ก็ข้ามฝั่งกลับมา ยังประเทศญี่ปุ่น กันต่ออีกเล็กน้อย กับบทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น ตอนที่ 10" โดย อาจารย์นคร จันทศร ซึ่งในตอนนี้ เราก็จะได้ทราบกันว่า ที่มาของชื่อรถไฟความเร็วสูง ของญี่ปุ่น อาทิ NOZOMI, HIKARI หรือ KODAMA มีที่มาได้อย่างไร และมีความหมาย ว่าอย่างไรบ้าง จริงๆ แล้ว ขบวนรถด่วน หรือด่วนพิเศษ ขบวนอื่นๆ ของประเทศไทย นอกเหนือจากของเดิม ที่มีอยู่แล้ว ก็น่าจะมีการ ตั้งชื่อขบวนรถ ให้ดูเก๋ไก๋ และมีความหมายดีๆ แบบของประเทศญี่ปุ่นบ้าง ก็คงจะไม่ผิดกติกาแต่อย่างใด

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 10) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 06 Aug 07@ 11:00:00 +07 (1939 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 

19 เรื่อง (4 หน้า, 5 เรื่องต่อหน้า)
[ 1 | 2 | 3 | 4 ]


Languages

 
เลือกรูปแบบภาษา:

English Thai
 

Follow Us

 
Facebook Twitter
 

User Info

 
สวัสดี Guest


User ID

Password


Security Code
Enter Code

Type Security Code
 

ข้อมูลสมาชิก

 · สมาชิกวันนี้

0

 · สมาชิกเมื่อวาน

0

 · สมาชิกรออนุมัติ

0

 · สมาชิกทั้งหมด

2670


สมาชิกใหม่ล่าสุด
 01:06/09/2016wanwis
 02:05/09/2016TingHon
 03:29/08/2016Tanakrit
 04:29/08/2016yokpalm
 05:29/08/2016munco645utt

ผู้ที่กำลังใช้งานขณะนี้

 สมาชิก (0%)

 ทั่วไป (0%)

 ทั้งหมด online

0


เข้าใช้งานมากที่สุด

 · ทั้งหมด

4353

 · สมาชิก

0

 · ทั่วไป

4353


สถิติการเข้าชม
 · วันนี้

30322

 · เมื่อวาน

48510

 · ทั้งหมด

328411681


สถิติการเข้าชมเฉลี่ย
 ·  ต่อชั่วโมง

1,835

 ·  ต่อวัน

40,868

 ·  ต่อเดือน

1,243,984

 ·  ต่อปี

14,927,804


เวลาของระบบ
 · เวลา

13:01:08

 · วัน

10/01/25

 · เขตเวลา

GMT + 7

 

Top Posters

 
   Mongwin 
 Posts: 
 47349 

   Wisarut 
 Posts: 
 44012 

   tuie 
 Posts: 
 12156 

   CivilSpice 
 Posts: 
 11192 

   black_express 
 Posts: 
 10060 

   ExtendeD 
 Posts: 
 9054 

   heerchai 
 Posts: 
 7730 

   alderwood 
 Posts: 
 6593 

   pattharachai 
 Posts: 
 6536 

   ksomchai 
 Posts: 
 6384 

 

Survey

 
ถ้าต้องเลือก Mega project ของรถไฟไทยในอนาคต คุณอยากได้อะไร ?

รถไฟความเร็วสูง (HST)
Rehab ทางรถไฟเดิม
สร้างทางคู่ทั้งประเทศ
จัดซื้อรถจักร/รถพ่วงใหม่
ก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่
ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน



ผลสำรวจ
แบบสำรวจอื่นๆ

จำนวนผู้ลงคะแนน: 1957
คำแนะนำ: 6