Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Rotfaithai.Com

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:312090
ทั่วไป:13692838
ทั้งหมด:14004928
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 

ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 16) : รถไฟความเร็วสูง 13
 
เรื่องพิเศษ

    ในตอนที่ 16 เกี่ยวกับรถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก จากบทความของ อาจารย์นคร จันทศร "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" ประจำสัปดาห์นี้ จะพาทุกท่าน ไปทำความรู้จักกับหลักการทำงาน ของรถไฟแม่เหล็ก ว่าสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างไร ทั้งๆ ที่ไม่มีล้อ เหมือนรถไฟความเร็วสูงปกติ และรถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก ของญี่ปุ่น (HSST) และเยอรมัน ที่ไปสร้างให้จีน (Transrapid) มีความแตกต่าง ในหลักการ ของการเคลื่อนที่ไปบนเส้นทางอย่างไรบ้าง

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 16) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Tuesday 02 Oct 07@ 08:00:00 +07 (2248 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 15) : รถไฟความเร็วสูง 12
 
เรื่องพิเศษ

     หลังจากที่ได้รู้จัก กับรถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก หรือ Maglev กันไปหลายตอนแล้ว ในสัปดาห์นี้ บทความ "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" ของ อาจารย์นคร จันทศร ใน ตอนที่ 15 จะเริ่มพาทุกท่าน ไปทำความรู้จัก กับประเภทของแม่เหล็ก ที่นำมาใช้งาน ว่ามีในรูปแบบใดบ้าง ซึ่งก็จะทำให้เราได้ทราบว่า รถไฟ Maglev จากเยอรมัน ใช้ระบบใด ซึ่งแตกต่างจากค่ายของญี่ปุ่น อย่างไรบ้าง

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 15) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Friday 21 Sep 07@ 07:00:00 +07 (1924 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 14) : รถไฟความเร็วสูง 11
 
เรื่องพิเศษ

    เข้าสู่ตอนที่ 14 สำหรับเรื่องราวน่ารู้ และที่มาที่ไปของรถไฟความเร็วสูง กับบทความของ อาจารย์นคร จันทศร "ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น" ซึ่งก็ยังคงว่าด้วยเรื่องราว ของรถไฟแม่เหล็ก หรือ Maglev กันอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะตอนนี้ จะกล่าวถึงว่า จริงๆ แล้วประเทศใดกันแน่ ที่เริ่มศึกษาค้นคว้า วิจัย เกี่ยวกับรถไฟ Maglev มาเป็นเวลายาวนาน แล้วทำไมประเทศ ที่มีเทคโนโลยี รถไฟความเร็วสูงระดับโลก ประเทศนั้น ถึงยังไม่ยอมนำเอาระบบรถไฟ Maglev มาใช้แบบเป็นเรื่องเป็นราว ปล่อยให้เยอรมัน แซงหน้าขึ้นนำไปก่อน โดยเหตุผล มาจากเรื่องของเทคโนโลยีที่ยังไม่ลงตัว หรือ เหตุผลทางการตลาด กันแน่

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 14) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Wednesday 12 Sep 07@ 09:00:00 +07 (1907 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
นั่งรถจักรไอน้ำ พร้อมชมภาพยนตร์ประวัติศาสตร์สมัย ร.5 ในวันปิยมหาราช
 
ข่าวจาก รฟท.

     กองประชาสัมพันธ์ การรถไฟฯ แจ้งว่า ใน วันปิยมหาราช วันที่ 23 ตุลาคม 2550 ที่จะถึงนี้ การรถไฟฯ จะจัดเดินขบวนรถพิเศษรถจักรไอน้ำ ไปยังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเป็นการรำลึก ถึงความยิ่งใหญ่ ของราชธานีในอดีต เที่ยววัดชมวัง ที่มีความงดงามทางสถาปัตยกรรม ไหว้พระเพื่อความเป็นสิริมงคล ชมภาพยนตร์ประวัติศาสตร์สมัยรัชกาลที่ 5 บนขบวนรถ พร้อมรำลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้พระราชทานกำเนิดกิจการรถไฟไทย

     ทั้งนี้ ในวันดังกล่าว หอภาพยนตร์แห่งชาติ จะทำการฉายภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และภาพยนตร์เกี่ยวกับรถไฟไทย เพื่อให้ผู้สนใจได้ชม บนขบวนรถอีกด้วย ขบวนรถจักรไอน้ำ จะออกจากสถานีกรุงเทพ เวลา 08.00 น. จอดรับนักท่องเที่ยวที่สถานีสามเสน, ชุมทางบางซื่อ1, สถานีบางเขน, สถานีหลักสี่, สถานีดอนเมือง และสถานีบางปะอิน ถึงสถานีอยุธยา เวลา 10.10 น. เมื่อถึงสถานีแล้ว จะมีรถยนต์โดยสารนำเที่ยว พร้อมมัคคุเทศก์รอรับนักท่องเที่ยวเพื่อชมโบราณสถาน ชมวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีต่าง ๆ ของชาวเมืองอยุธยา พร้อมซื้อของฝากของที่ระลึก ชม วัดท่าการ้อง นมัสการหลวงพ่อยิ้ม พระประธานภายในอุโบสถที่เก่าแก่กว่า 400 ปี ศึกษาความเป็นมา ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งเป็นราชธานีอันยิ่งใหญ่ ที่ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา, วัดหน้าพระเมรุ นมัสการพระพุทธรูปทรงเครื่อง งดงามที่สุดในประเทศไทย และพระคันธารราฐ พระพุทธรูปเก่าแก่มีอายุกว่า 1,500 ปี และชม วัดมหาธาตุ ชมเศียรพระพุทธรูปใต้รากไม้ ซึ่งถือเป็น Unseen ในประเทศไทยแห่งหนึ่ง

     เที่ยวกลับขบวนรถจักรไอน้ำพิเศษ ออกจากสถานีอยุธยา เวลา 17.25 น. ถึงสถานีกรุงเทพ เวลา 19.20 น. ค่าโดยสาร ผู้ใหญ่/เด็ก ราคาเดียวคนละ 120.- บาท ค่ารถยนต์นำเที่ยวพร้อมมัคคุเทศก์ คนละ 180.- บาท อย่างไรก็ดี ขณะนี้ตั๋วโดยสารใกล้จะเต็มแล้ว เนื่องจากตั๋วโดยสารมีจำนวนจำกัด คือประมาณ 500 ที่เท่านั้น และการนั่งรถจักรไอน้ำมีผู้สนใจเป็นจำนวนมาก หากพลาดโอกาสคราวนี้ ขอให้ผู้สนใจเดินทาง ไปกับรถจักรไอน้ำได้อีกครั้ง ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวาคม 2550

     ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์สายด่วน 1690 ตลอด 24 ชั่วโมง หรือที่ www.railway .co.th

ที่มา : กองประชาสัมพันธ์ การรถไฟแห่งประเทศไทย
วันที่ : 10/09/2550

ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 10 Sep 07@ 14:00:00 +07 (2198 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 
ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 13) : รถไฟความเร็วสูง 10
 
เรื่องพิเศษ

     ติดตามเรื่องราวของ รถไฟความเร็วสูงแบบแม่เหล็ก หรือ Maglev กันต่อ กับบทความของ อาจารย์นคร จันทศร ในตอนที่ 13 ซึ่งจะกล่าวถึงที่มาที่ไป ของรถไฟความเร็วสูง Maglev ของประเทศจีน ซึ่งได้นำเอาเทคโนโลยี ของประเทศเยอรมันมาใช้ โดยจีนเอง ก็มุ่งหวังเป็นหนักหนาว่า ด้วยเทคโนโลยีนี้ จะทำให้จีน เป็นชาติแรกในโลก ที่เปิดใช้รถไฟ Maglev อย่างเป็นทางการ แบบจริงๆ จังๆ และดูสมศักดิ์ศรี ต่อการก้าวขึ้นสู่ ความเป็นประเทศที่เป็นผู้นำ อีกประเทศหนึ่งของโลก

     บทความชุดนี้ มีทั้งหมด 19 ตอน (เคยนำลงในหนังสือพิมพ์ Transport รายสัปดาห์ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว) โดยเราจะทะยอย นำลงเผยแพร่ภายในเว็บไซต์ฯ สัปดาห์ละ 1 ตอน จนกว่าจะจบ ซึ่งสามารถติดตามได้จาก เมนูเนื้อหาสาระ และอยู่ในหัวข้อ บทความและสกู๊ปพิเศษ ครับ

     สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์นคร จันทศร สำหรับบทความชุดดังกล่าว ที่มอบให้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ รถไฟไทยดอทคอม มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ

เข้าชมบทความ ความคงเส้นคงวาแบบญี่ปุ่น (ตอนที่ 13) ได้ที่นี่



ผู้บันทึก CivilSpice เมื่อ Monday 03 Sep 07@ 05:00:00 +07 (1780 ครั้ง)
(แสดงความเห็น? | คะแนน: 0)

 
 

359 เรื่อง (72 หน้า, 5 เรื่องต่อหน้า)
[ 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 ]


Languages

 
เลือกรูปแบบภาษา:

English Thai
 

Follow Us

 
Facebook Twitter
 

User Info

 
สวัสดี Guest


User ID

Password


Security Code
Enter Code

Type Security Code
 

ข้อมูลสมาชิก

 · สมาชิกวันนี้

0

 · สมาชิกเมื่อวาน

0

 · สมาชิกรออนุมัติ

0

 · สมาชิกทั้งหมด

2670


สมาชิกใหม่ล่าสุด
 01:06/09/2016wanwis
 02:05/09/2016TingHon
 03:29/08/2016Tanakrit
 04:29/08/2016yokpalm
 05:29/08/2016munco645utt

ผู้ที่กำลังใช้งานขณะนี้

 สมาชิก (0%)

 ทั่วไป (0%)

 ทั้งหมด online

0


เข้าใช้งานมากที่สุด

 · ทั้งหมด

4353

 · สมาชิก

0

 · ทั่วไป

4353


สถิติการเข้าชม
 · วันนี้

16878

 · เมื่อวาน

72552

 · ทั้งหมด

329666155


สถิติการเข้าชมเฉลี่ย
 ·  ต่อชั่วโมง

1,838

 ·  ต่อวัน

41,024

 ·  ต่อเดือน

1,248,735

 ·  ต่อปี

14,984,825


เวลาของระบบ
 · เวลา

05:32:34

 · วัน

29/01/25

 · เขตเวลา

GMT + 7

 

Top Posters

 
   Mongwin 
 Posts: 
 47555 

   Wisarut 
 Posts: 
 44124 

   tuie 
 Posts: 
 12156 

   CivilSpice 
 Posts: 
 11192 

   black_express 
 Posts: 
 10060 

   ExtendeD 
 Posts: 
 9054 

   heerchai 
 Posts: 
 7730 

   alderwood 
 Posts: 
 6593 

   pattharachai 
 Posts: 
 6536 

   ksomchai 
 Posts: 
 6384 

 

Survey

 
ถ้าต้องเลือก Mega project ของรถไฟไทยในอนาคต คุณอยากได้อะไร ?

รถไฟความเร็วสูง (HST)
Rehab ทางรถไฟเดิม
สร้างทางคู่ทั้งประเทศ
จัดซื้อรถจักร/รถพ่วงใหม่
ก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่
ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน



ผลสำรวจ
แบบสำรวจอื่นๆ

จำนวนผู้ลงคะแนน: 1957
คำแนะนำ: 6