Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Ads Service

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311898
ทั่วไป:13571279
ทั้งหมด:13883177
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - สายนี้มีไว้ทำอะไรครับ
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

สายนี้มีไว้ทำอะไรครับ

 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> โครงสร้างทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับรถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
wasu
3rd Class Pass
3rd Class Pass


Joined: 23/07/2006
Posts: 64

PostPosted: 03/07/2012 6:00 pm    Post subject: สายนี้มีไว้ทำอะไรครับ Reply with quote

วันก่อนเดินเล่น รอ171 เข้าสถานีประจวบฯ เจอสายสลิงเส้นนี้ติดกับขอบข้างรางครับ

Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 43709
Location: NECTEC

PostPosted: 03/07/2012 6:08 pm    Post subject: Reply with quote

ตัว Contact สำหรับระบบประแจกลหละกระมัง Rolling Eyes
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 46845
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 03/07/2012 6:50 pm    Post subject: Reply with quote

ผมงงว่าเหตุใดจึงต้องมีลวดมาเชื่อมรางทั้งสองท่อนครับ
เพื่อนำไฟฟ้าใช่หรือไม่
ทั้ง ๆ ที่เหล็กประกับรางก็น่าจะทำให้รางทั้งสองท่อน นำไฟฟ้าได้ถึงกันอยู่แล้ว
(หรือว่าเป็นสนิมจนนำไฟฟ้าได้ไม่ดี)
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
srinopkun
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 08/04/2010
Posts: 2940
Location: นครปฐม

PostPosted: 03/07/2012 8:06 pm    Post subject: Reply with quote

อ.Mongwin เข้าใจถูกแล้วครับ

เชื่อมเพื่อนำไฟฟ้า เนื่องจากเหล็กประกับ + น๊อตนั้น หากขึ้นสนิมแล้วจะทำให้ไฟเดินไม่สะดวก .... พบได้ทั่วๆไปครับ


มีอีกรูปแบบหนึ่งคือเหล็กประกับพร้อมฉนวน ป้องกันไม่ให้ไฟฟ้าเชื่อมถึงกันในรางสองช่วง .... พบได้ใกล้ๆประแจ
Back to top
View user's profile Send private message
alderwood
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 10/04/2006
Posts: 6593
Location: กรุงเทพ-ราชสีมา

PostPosted: 03/07/2012 8:30 pm    Post subject: Reply with quote

และจะเห็นว่า เมื่อมีรถจอดอยู่ในทางนั้นๆ track จะแดงครับ เพราะเจ้านี่เป็นตัวนำไฟฟ้าเพื่อให้ทราบว่ารถอยู่ ณ ช่วงไหนในเขตสถานี
_________________
รักรถไฟมั่นใจโคปเตอร์ || Railway Racing Team || Korat Spotter
Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website MSN Messenger
aonpakorn
3rd Class Pass
3rd Class Pass


Joined: 06/07/2006
Posts: 153

PostPosted: 04/07/2012 8:51 am    Post subject: Reply with quote

เคยสงสัยเหมือนกัน แต่ไม่คิดว่ารางรถไฟปกติจะมีไฟฟ้าด้วย อยากทราบข้อมูลเพิ่มเติมครับ
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail
black_express
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/03/2006
Posts: 10060
Location: อุตรดิตถ์ - กรุงเทพฯ

PostPosted: 04/07/2012 10:17 am    Post subject: Reply with quote

Click on the image for full size

ฉนวนที่คั่นระหว่างท่อนรางนั้น กั้นไม่ให้ไฟฟ้าไหลผ่านครับ แต่เขาเชื่อมสายเคเบิลจากรางเอาไว้ แล้วต่อไปยังอุปกรณ์รับอาณัติสัญญาณอีกทีหนึ่ง

เหมือนกับการต่อรางรถไฟจำลองนั่นแหละครับ
Back to top
View user's profile Send private message
namrat7
3rd Class Pass
3rd Class Pass


Joined: 02/05/2012
Posts: 50
Location: สถานีรถไฟ หนองตะไก้

PostPosted: 17/08/2012 2:09 pm    Post subject: Reply with quote

นอกเรื่อง นิด น่าครับ แต่ หมอนราง สภาพเก่าเต้มที่ คง ไม่ใช่ รางประธานใช่ไหมครับ
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
black_express
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/03/2006
Posts: 10060
Location: อุตรดิตถ์ - กรุงเทพฯ

PostPosted: 18/08/2012 6:44 pm    Post subject: Reply with quote

ไม่ใช่รางประธานครับ เป็นรางหลีก ปลายตัน (รางตาย)
Back to top
View user's profile Send private message
dpat
3rd Class Pass
3rd Class Pass


Joined: 22/04/2013
Posts: 5

PostPosted: 29/06/2013 11:03 am    Post subject: Reply with quote

เป็นสายไฟเชื่อมเพื่อให้มั่นใจว่ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านประกับราง โดยจะใช้งาน กับวงจรไฟตอน หรือ Track Circuits เพื่อบอกสถานะของทางในย่านสถานีว่ามีขบวนรถอยู่ในจุด เป็นต้น
การใช้งานอาจเป็นไปในหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่ย่านสถานี ว่าใช้ระบบอาณัติสัญญาณแบบใด

หากรางเปลี่ยนเป็นรางเชื่อมยาวตามมาตรฐานทางสายใหม่ (ราง 100A) จุดต่อแบบนี้จะลดลง เพราะไม่มีประกับ

Click on the image for full size
รูปแรก เป็นการต่อบริเวณประแจ


Click on the image for full size
รูปสอง เป็นการติดตั้งวงจรทั้ง 2 ด้านเพื่อใช้ตรวจสอบขบวนรถ หาล้อรถเหยียบวงจร มันก็จะครบวงจร ตรงกลางจะเป็นประกับฉนวนราง หรือ insulated rail joint (IRJ) แบ่งวงจรเป็น 2 ด้าน
Back to top
View user's profile Send private message
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> โครงสร้างทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับรถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Page 1 of 1

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©