Ads Service

Main Menu

 
icon_home.gif Homepage
icon_community.gif Members Zone
· ข้อมูลส่วนตัว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ข่าวสารส่วนตัว
· บริการเว็บเมล์
· กระดานข่าว
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก กระดานฝากข้อความ
· รถไฟไทยแกลลอรี่
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก รายนามสมาชิก
· แบบสำรวจ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก สมุดเยี่ยม
· เกี่ยวกับสมาชิก
favoritos.gif News & Stories
· เรื่องทั้งหมด
· เนื้อหาสาระ
· เรื่องสำหรับพิมพ์
· ยอดฮิตติดอันดับ
· ค้นหาข่าวสาร
· ค้นหากระทู้เก่า
nuke.gif Contents
· กำหนดเวลาเดินรถ
· ประเภทขบวนรถโดยสาร
· ข้อมูลเส้นทางรถไฟ
· แผนที่เส้นทางรถไฟ
· อัตราค่าโดยสาร
· คำนวณค่าโดยสารรถไฟ
· รูปแบบการให้บริการรถไฟ
· หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
· ทริปท่องเที่ยวโดยรถไฟ
· ระบบติดตามขบวนรถ
som_downloads.gif Services
· Downloads
· GoogleSearch
· Hotels Booking
· FlashGames
· Wallpaper 1
· Wallpaper 2
· Wallpaper 3
· Wallpaper 4
icon_members.gif Information
· เกี่ยวกับเรา
· นโยบายความเป็นส่วนตัว
· แผนผังเว็บไซต์ฯ
ใช้งานได้เฉพาะสมาชิก ส่งข้อแนะนำติชม
· ติดต่อลงโฆษณา
· แนะนำและบอกต่อ
· สถิติทั้งหมด
· สำหรับผู้ดูแลระบบ
 

Sponsors

 

Ads Service

 

Visitors

 


มีผู้เข้าเยี่ยมชม
สมาชิก:311234
ทั่วไป:13180361
ทั้งหมด:13491595
คน ตั้งแต่
01-08-2004
 


Rotfaithai.Com :: View topic - เรื่องน่ารู้ : การเปลี่ยนใช้ขอพ่วงอัตโนมัติ แทนขอพ่วง เอ.บี.ซี.
 Forum FAQForum FAQ   SearchSearch   UsergroupsUsergroups   ProfileProfile   Log in to check your private messagesLog in to check your private messages   Log inLog in 

เรื่องน่ารู้ : การเปลี่ยนใช้ขอพ่วงอัตโนมัติ แทนขอพ่วง เอ.บี.ซี.
Goto page Previous  1, 2, 3
 
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย
View previous topic :: View next topic  
Author Message
rimura
2nd Class Pass (Air)
2nd Class Pass (Air)


Joined: 16/08/2006
Posts: 778
Location: Suan luang Rama IX, Pravet, Bangkok

PostPosted: 10/07/2011 7:28 pm    Post subject: Reply with quote

ขอบคุณสำหรับข้อมูลและสาระดีๆอย่างนี้ด้วยนะครับผม , ได้อ่านได้ชมเรื่องราวเกี่ยวกับวิวัฒนาการของขอพ่วงในไทยแล้ว เห็นภาพถึงในยุคสมัยนั้นได้อย่างชัดเจนเลยครับ ยุคที่
รถจักรในตำนานอย่าง Davenport เข้ามามีบทบาทสำคัญในช่วงของการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทย ยุคของการเริ่มการหลั่งไหลเข้ามาของสินค้าและแรงงานโดยเฉพาะจากทางภาคอีสานซึ่งเป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้มหานครใหญ่อย่างกรุงเทพฯเติบโตขึ้นมาได้ตราบเท่าทุกวันนี้ครับ สุดยอดจริงๆ ขอบคุณอีกครั้งครับผม
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail MSN Messenger
heerchai
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 29/07/2006
Posts: 7730
Location: อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

PostPosted: 10/07/2011 7:57 pm    Post subject: Reply with quote

Click on the image for full size

Uploaded with ImageShack.us

Click on the image for full size

Uploaded with ImageShack.us

Click on the image for full size

Uploaded with ImageShack.us

ภาพประกอบ
Back to top
View user's profile Send private message
Wisarut
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 27/03/2006
Posts: 42624
Location: NECTEC

PostPosted: 11/07/2011 1:56 am    Post subject: Reply with quote

rimura wrote:
รถจักรในตำนานอย่าง Davenport เข้ามามีบทบาทสำคัญในช่วงของการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทย ยุคของการเริ่มการหลั่งไหลเข้ามาของสินค้าและแรงงานโดยเฉพาะจากทางภาคอีสานซึ่งเป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้มหานครใหญ่อย่างกรุงเทพฯเติบโตขึ้นมาได้ตราบเท่าทุกวันนี้ครับ สุดยอดจริงๆ ขอบคุณอีกครั้งครับผม


เรื่องลงไปไทยของคนอีสานนั้นมันเริ่มแต่สมัยรถไฟไปถึงโคราชปี 2443 แล้วหละครับ ต่อมาเมื่อขยายไปท่าช้างปี 2465 หมู่เฮาก็นั่งเรือกลไฟแม่น้ำมูลไปลงท่าช้างแล้วต่อรถไฟเข้าโคราช พักโคราช 1 คืนแล้ว ขึ้นรถ ขบวน 44 ลงไปกรุงเทพ

พอปี 2473 จึงหันไปขึ้นรถไฟจากวารินทร์ไปโคราชและโคราชไปกรุงเทพฯ แทน แม้ตอนปลายปี 2480 มีรถด่วนประจำสัปดาห์ วิ่งระหว่าง กรุงเทพ - โคราช - วารินทร์ ก็ยังมีการค้างที่โคราชพักโรงเตี๊ยมรวม ที่คิดคืนละ 1 บาทอยู่

ส่วนกรณีขอนแก่นนั้น ต้องรอปี 2476 โน่น ถึงจะมีรถเดิน ไปโคราช และปลายปี 2482 จึงจะมีรถด่วนประจำสัปดาห์กรุงเทพ - โคราช - ขอนแก่น เดิน ... และ ปี 2484 จึงจะขยายปลายทางไปอุดรธานี เพราะ ครม. ให้หมดระยะที่อุดรแทนที่จะไปจนถึงหนองคาย ตามที่กรมพระกำแพงดำริไว้แต่เดิม

เพราะเห็นว่าเวียงจันทน์ไม่มีอะไรน่าสนใจควรค่าแก่การขยายปลายทาง และ มีถนนดินลูกรังไปหนองคาย (ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของถนนมิตรภาพ) และ ถนนดินลูกรังไป สกลนครและนครพนม (ต่อเป็นทางหลวงหมายเลข 22) อยู่แล้ว
Back to top
View user's profile Send private message
BanPong1
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 07/12/2006
Posts: 2733
Location: กม.37 สายเหนือ, กม.68 สายกาญจนบุรี

PostPosted: 11/07/2011 2:25 pm    Post subject: Reply with quote

Mongwin wrote:
ภาพนี้ว่ากันว่าเป็นภาพรถไฟไทยภาพแรกสุด ที่เห็นเสาสัญญาณไฟสีครับ Razz
(แม้จะเป็นภาพขาวดำก็ตาม)

black_express wrote:
Click on the image for full size


ขอนอกเรื่องนิดหนึ่งครับพี่ตึ๋ง และอาจารย์เอก
ภาพนี้คือย่านบางซื่อหรือเปล่าครับ
_________________
Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail MSN Messenger
Nakhonlampang
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 29/03/2006
Posts: 3291
Location: เสนานิคม1-คลองหลวง

PostPosted: 11/07/2011 2:29 pm    Post subject: Reply with quote

^
บางซื่อครับ Arrow ภาพนี้ถ่ายจากบนสะพานลอยตัวเก่าหันไปทางทิศเหนือ

ร่องรอยที่พอมองเห็นได้ในปัจจุบันก็คือ แนวขอบชานชาลาที่เป็นแนวโค้งเบนไปทางขวาซึ่งปรากฏอยู่บนพื้นชานชาลาปัจจุบัน
Back to top
View user's profile Send private message
BanPong1
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 07/12/2006
Posts: 2733
Location: กม.37 สายเหนือ, กม.68 สายกาญจนบุรี

PostPosted: 11/07/2011 2:35 pm    Post subject: Reply with quote

Nakhonlampang wrote:
^
บางซื่อครับ Arrow ภาพนี้ถ่ายจากบนสะพานลอยตัวเก่าหันไปทางทิศเหนือ

ร่องรอยที่พอมองเห็นได้ในปัจจุบันก็คือ แนวขอบชานชาลาที่เป็นแนวโค้งเบนไปทางขวาซึ่งปรากฏอยู่บนพื้นชานชาลาปัจจุบัน



ขอบคุณครับคุณหนุ่ม
ทางซ้ายคือโรงปูนใช่ไหมครับ
แล้วหอสัญญาณทางขวานี่รื้อออกไปตั้งแต่เมื่อใดครับ
_________________
Click on the image for full size
Back to top
View user's profile Send private message Send e-mail MSN Messenger
black_express
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/03/2006
Posts: 10060
Location: อุตรดิตถ์ - กรุงเทพฯ

PostPosted: 11/07/2011 3:36 pm    Post subject: Reply with quote

ป๋าณัฐเคยเล่ามานะครับ...

"หอสัญญาณตรงด้านเหนือสถานี

อ่า ตรงนี้ ในอดีต คือ หอสัญญาณ 1 ครับ ส่วน หอสัญญาณ 2 อยู่กลางๆ ย่าน ในปัจจุบัน หอสัญญาณ 3 อยู่ท้ายๆ โรงกลึงล้อ ขนานกับทางที่รถสินค้าจากสายใต้ ที่ตัดขวางในเส้นทางสายเหนือ ...

แหะ ทั้งในหอที่ 3 เนี่ย ถ้าจำไม่ผิดทุบทิ้งไปราวๆ ปี 2520 -2525 อ่าครับ......."
Back to top
View user's profile Send private message
Mongwin
1st Class Pass (Air)
1st Class Pass (Air)


Joined: 24/09/2007
Posts: 44325
Location: ทางรถไฟสายสุพรรณบุรี สายสงขลา

PostPosted: 11/07/2011 5:01 pm    Post subject: Reply with quote

Nakhonlampang wrote:
^
บางซื่อครับ Arrow ภาพนี้ถ่ายจากบนสะพานลอยตัวเก่าหันไปทางทิศเหนือ

ร่องรอยที่พอมองเห็นได้ในปัจจุบันก็คือ แนวขอบชานชาลาที่เป็นแนวโค้งเบนไปทางขวาซึ่งปรากฏอยู่บนพื้นชานชาลาปัจจุบัน

ทำภาพเปรียบเทียบมาให้ชมกันครับ ลูกศรสีเหลืองชี้อาคารที่อยู่ขวามือในภาพจากการรถไฟฯ ของพี่ตึ๋งครับ
(ขอบคุณภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร ภาพถ่ายดาวเทียมจาก Google Earth)

Click on the image for full size

-----------------------

ไม่ทราบว่าภาพที่เฮียใช้นำมาให้ชมกัน ถ่ายทำจากที่ไหนครับ Rolling Eyes
Back to top
View user's profile Send private message Visit poster's website
Display posts from previous:   
Reply to topic    Rotfaithai.Com Forum Index -> สาระความรู้วิชาการรถไฟและประวัติศาสตร์รถไฟไทย All times are GMT + 7 Hours
Goto page Previous  1, 2, 3
Page 3 of 3

 

Share |

Jump to:  
You cannot post new topics in this forum
You cannot reply to topics in this forum
You cannot edit your posts in this forum
You cannot delete your posts in this forum
You cannot vote in polls in this forum

Powered by phpBB © 2001, 2005 phpBB Group


Forums ©